กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ตำบลปิยามุมังอำเภอยะหริ่งจังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ๒๕๖๐

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี
                              ปีงบประมาณ ๒๕๖๐
วิธีการดำเนินการ 1.ประชุมชี้แจงอาสาสมัครสาธารณสุขประสานกลุ่มเป้าหมายในการดำเนินโครงการ ๒. จัดอบรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อายุ ๓๕ ปีขึ้นไป โดย - ให้ความรู้เกี่ยวกับ 3 อ. 2 ส
- สาธิตการทำอาหารเมนูสุขภาพ
- สาธิตการจัดเมนูอาหารสี - มีการจับบัดดี้(คู่หู)เพื่อช่วยดูแลและตักเตือนซึ่งกันและกัน
๓. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ติดตามตรวจ / ประเมินภาวะสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ๔. ติดตามผลบัดดี้(คู่หู)ว่ามีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพซึ่งกันและกัน ๕. จัดเวทีถ่ายทอดการเรียนรู้ ประกวดหาต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ  โดยค้นหา หมู่ละ๑ คนเพื่อเป็นโมเดล พร้อมมอบของขวัญและธงแก่ต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ จำนวน ๕ คนเพื่อเป็นตัวอย่างให้เพื่อนๆจะได้มีกำลังใจในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ๖. สรุปและประเมินผลโครงการ
ผลการดำเนินงานโครงการ -  กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ    จำนวน        70  คน ตารางที่  1 เปรียบเทียบความแตกต่างความดันโลหิตก่อนและหลังดำเนินโครงการจำนวน 70 คน

ระดับความดันโลหิต (มิลิเมตรปรอท)                                 ก่อนดำเนินการ                             หลังดำเนินการ                                                                       จำนวน       ร้อยละ                 จำนวน       ร้อยละ -    < 120/80                ปกติ                                        0            0                                15              21.42 -    120/80  -139/89      กลุ่มเสี่ยง                                  41          58.57                            34              48.52 -    > 140/90 ขึ้นไป      กลุ่มเสี่ยงสูง                                29          41.41                            24                30

จากตารางแสดงให้เห็นว่า
-  ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม              ระดับปกติ  0  คน คิดเป็นร้อยละ  0        และ กลุ่มเสี่ยง  41  คนคิดเป็นร้อยละ 58.57            กลุ่มเสี่ยงสูง    29  คน    คิดเป็นร้อยละ  41.42 -  หลังดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระดับปกติ  15 คน คิดเป็นร้อยละ 21.42  และ กลุ่มเสี่ยง  34 คน คิดเป็นร้อยละ  48.57          กลุ่มเสี่บงสูง  24  คน    คิดเป็นร้อยละ  30.0     ซึ่งจะเห็นได้ว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้ดีขึ้นและสามารถกลับมาอยู่ในกลุ่มปกติได้ถึง 15 คน

ตารางที่ 2 เปรียบเทียบความแตกต่างระดับน้ำตาลในเลือด  ก่อนและหลังดำเนินโครงการ จำนวน  70    คน ระดับการตรวจน้ำตาลในเลือด (อดอาหาร) เจาะจากปลายนิ้ว  (มิลลิกรัม%)                     ก่อนดำเนินการ     หลังดำเนินการ                                                     จำนวน        ร้อยละ จำนวน ร้อยละ   < 100        ปกติ                                    40              57.14          57        81.42   > 100-125  กลุ่มเสี่ยง                              29              41.42          12        17.14   >/ 126      กลุ่มเสี่ยงสูง                            1                1.42            0            0
จากตารางแสดงให้เห็นว่า
-  ก่อนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม              ระดับปกติ  40 คน              คิดเป็นร้อยละ 57.14    และ กลุ่มเสี่ยง              29 คน  คิดเป็นร้อยละ 41.42 กลุ่มเสี่ยงสูง        1 คน  คิดเป็นร้อยละ  1.42 -  หลังดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระดับปกติเพิ่มขึ้นเป็น  57 คน คิดเป็นร้อยละ 81.48      และ กลุ่มเสี่ยงลดลงเป็น  12 คน  คิดเป็นร้อยละ 17.14 กลุ่มเสี่ยงสูงลดลง  0 คน  คิดเป็นร้อยละ  0   ซึ่งจะเห็นได้ว่าประชาชนกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดีขึ้นกลับมาเป็นกลุ่มปกติมากขึ้น

สรุปผลการดำเนินงาน ๑.ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้และทักษะในการดูแลตนเองดีขึ้น  และตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพิ่มมากขึ้นจากโครงการทำให้กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสียงสูงกลับมาเป็นกลุ่มปกติมากขึ้น ๒. อัตราการตรวจพบโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงของประชาชน อายุ 35 ปีขึ้นไปลดลง ๓.มีต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหมู่ละ 1 คน ปัญหาและอุปสรรค             1. กลุ่มเสี่ยงไม่อยู่ในพื้น             2 .กลุ่มเสี่ยงต้องทำงานต่างจังหวัด             3.งบการอบรมโครงกานอนุมัติล่าช้าทำให้การดำเนินงานล่าช้าไปด้วย โอกาสพัฒนา           1.  มีการอบรมโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพผู้ที่มีภาวะเสี่ยง  35  ปีขึ้นไปให้ครอบคลุม  ให้มากกว่านี้           2. ขออนุมัติโครงการให้เร็วขึ้น           3 ประชาชนในตำบลที่เป็นกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มเสี่ยงสูงเป็นโรคน้อยลง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : -ประชาชนโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้ถูกต้อง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพและสามารถพึ่งพาตนเองได้ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh