กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาระบบบริการดูแล รักษาสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชป้องกันการติดเชื้อ COVID-19 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอด อำเภอเกษตรสมบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ ปีงบประมาณ ๒๕63

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 2.1 เพื่อพัฒนาแนวทางในการป้องกัน ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สารจอดจากการติดเชื้อโรค COVID-19 ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวช ได้รับการป้องกันโรค COVID-19 2.2 เพื่อพัฒนาเครือข่ายแกนนำดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของเครือข่ายจิตอาสาดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน มี ความรู้เรื่อง แนวทางการดูแล การใช้ยาของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน 2.3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอดได้รับการดูแลรักษาอย่าง ต่อเนื่อง ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ100 ของ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : 2.1 เพื่อพัฒนาแนวทางในการป้องกัน ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สารจอดจากการติดเชื้อโรค COVID-19 ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวช ได้รับการป้องกันโรค COVID-19 2.2 เพื่อพัฒนาเครือข่ายแกนนำดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของเครือข่ายจิตอาสาดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน มี ความรู้เรื่อง แนวทางการดูแล การใช้ยาของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน 2.3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอดได้รับการดูแลรักษาอย่าง ต่อเนื่อง ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ100 ของ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง
300.00

 

2 เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
ตัวชี้วัด : ร้อยละของคนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 ที่ได้รับการดูแล ป้องกัน เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)
300.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 300
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 2.1  เพื่อพัฒนาแนวทางในการป้องกัน ดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล              สารจอดจากการติดเชื้อโรค COVID-19              ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวช ได้รับการป้องกันโรค COVID-19      2.2  เพื่อพัฒนาเครือข่ายแกนนำดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน              ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ 100 ของเครือข่ายจิตอาสาดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน มี              ความรู้เรื่อง แนวทางการดูแล การใช้ยาของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน        2.3 เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสารจอดได้รับการดูแลรักษาอย่าง            ต่อเนื่อง      ตัวชี้วัดความสำเร็จ : ร้อยละ100 ของ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชได้รับการดูแลรักษาอย่างต่อเนื่อง (2) เพิ่มการดูแล ป้องกัน คนที่มีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตจากโควิด-19 เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไต โรคหอบหืดและระบบทางเดินหายใจ)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 เครือข่ายแกนนำดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชนเคาะประตูบ้านผู้ป่วยโรคเรื้อรัง        โรคจิตเวชในชุมชน เพื่อเยี่ยมและส่งมอบยาแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง โรคจิตเวชในชุมชน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh