กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการยิ้มสดใสเด็กตะลุโบะฟันดี ประจำปี 2560 ”
ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายหวันมูฮำมัดรุสดี เจะอาแว




ชื่อโครงการ โครงการยิ้มสดใสเด็กตะลุโบะฟันดี ประจำปี 2560

ที่อยู่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3011-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 ถึง 30 กันยายน 2560

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการยิ้มสดใสเด็กตะลุโบะฟันดี ประจำปี 2560 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการยิ้มสดใสเด็กตะลุโบะฟันดี ประจำปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการยิ้มสดใสเด็กตะลุโบะฟันดี ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตะลุโบะ อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3011-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2559 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,740.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะลุโบะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันปัญหาทันตสุขภาพเป็นปัญหาที่สำคัญอย่างหนึ่ง ซึ่งได้ทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องจากปัจจัยหลายๆ อย่าง ซึ่งเกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพช่องปาก ขาดการดูแลเอาใจใส่ หรือสภาพความเป็นอยู่ของครอบครัวที่ไม่เอื้อต่อการใส่ใจสุขภาพช่องปาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพช่องปากโดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก มีอัตราฟันผุที่สูงขึ้นเรื่อยๆ จากผลการสำรวจสุขภาพช่องปาก โดยสำนักทันตสาธารณสุข ในปี 2556 พบว่า เด็กอายุ 3 ปี มีฟันผุร้อยละ 56.5 เด็กอายุ 12 ปี มีฟันผุร้อยละ 51.8 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่สูง อาจส่งผลต่อการสูญเสียฟันบางส่วนหรือทั้งปากเพิ่มขึ้น ซึ่งนับว่าเป็นปัญหาทางด้านทันตสาธารณสุขที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนองค์ประกอบทางด้านปัจจัยสำคัญทางพฤติกรรมและสังคมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงสัมพันธ์กับการเกิดโรคฟันผุในกลุ่มเด็กซึ่งเป็นกลุ่มอายุที่เริ่มพบว่าจะมีแนวโน้มของปัญหาทันตสุขภาพอย่างต่อเนื่องในอนาคตอันใกล้ เช่น การเข้าถึงอาหารที่ไม่เกิดผลดีต่อสุขภาพทำให้สัดส่วนเด็กที่บริโภคอาหารอย่างเหมาะสมลดน้อยลงส่งผลปัญหาทางสุขภาพทางกายโดยรวมด้วย ซึ่งนอกจากจะทำให้เกิดปัญหาฟันผุในเด็ก ยังก่อให้เกิดความเจ็บปวด การติดเชื้อ และปัญหาการบดเคี้ยวอาหาร สุดท้ายส่งผลต่อน้ำหนัก การเจริญเติบโต บุคลิกภาพ และการเรียน จากการสำรวจสภาวะสุขภาพช่องปากของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านจะรังบองอและโรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6ปี 2559 พบว่าร้อยละ 82.05 ของเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านจะรังบองอและโรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะมีฟันผุ โดยค่าเฉลี่ยฟันผุ อุด ถอน อยู่ที่ 1.95 ซี่ต่อคน เมื่อเทียบกับระดับประเทศค่าเฉลี่ยฟันผุ อุด ถอนในปี 2555 เท่ากับ ๑.3 ซี่ต่อคน (สภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศครั้งที่ 7 ประเทศไทย พ.ศ. 2550-2555) จากข้อมูลจะเห็นได้ว่าเด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านจะรังบองอและโรงเรียนชุมชนบ้านตะลุโบะ มีอัตราการผุของฟันในเกณฑ์ที่สูง หากเราวางรากฐานเรื่องสุขภาพช่องปากแก่เด็กวัยเรียนพร้อมกับการสอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธีในรูปแบบที่เหมาะสมกับเด็ก เพื่อให้เด็กมีความรู้ในการดูแลสุขภาพช่องปาก อาจส่งผลให้ปัญหาสุขภาพในช่องปากของเด็กดีขึ้น ดังนั้น เพื่อเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนตระหนักถึงความสำคัญด้านทันตสุขภาพมากยิ่งขึ้นและเป็นการส่งเสริมป้องกันไม่ให้โรคในช่องปากลุกลามและทวีความรุนแรงมากกว่าเดิม อีกทั้งเป็นการสนับสนุนให้โรงเรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนและแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อเด็กนักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ด้านทันตสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
  2. 2.เพื่อให้นักเรียนแปรงฟันได้ด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
  3. 3.เพื่อให้นักเรียนมีค่าแผ่นคราบจุลินทรีย์ (Plaque Index) ลดลง
  4. 4.เพื่อให้ครูเกิดทักษะในการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเด็กในโรงเรียนได้
  5. 5.เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและคนในชุมชนได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 221
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนมีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    2. เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของนักเรียน
    3. โรงเรียนสามารถดำเนินการสานต่อกิจกรรมที่มีในโครงการได้
    4. นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น
    5. แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ในเรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากด้วยตนเอง
    6. แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. อบรมให้ความรู้และฝึกทักษะการตรวจสุขภาพช่องปากแก่แกนนำอสม.และคุณครูในโรงเรียน

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทันตสาธารณสุขในชุมชน โรงเรียนสามารถดำเนินการสานต่อกิจกรรมที่มีในโครงการได้

     

    36 36

    2. กิจกรรม walk rally ความรู้ทันตสุขภาพแก่นักเรียนชั้นประถมตอนปลาย

    วันที่ 10 สิงหาคม 2560 เวลา 08:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    นักเรียนมีความเข้าใจและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหาทันตสุขภาพของนักเรียน

     

    221 221

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ด้านทันตสุขภาพเพิ่มมากขึ้น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2.เพื่อให้นักเรียนแปรงฟันได้ด้วยตนเองอย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3.เพื่อให้นักเรียนมีค่าแผ่นคราบจุลินทรีย์ (Plaque Index) ลดลง
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4.เพื่อให้ครูเกิดทักษะในการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเด็กในโรงเรียนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    5 5.เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและคนในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 221
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 221
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนในโรงเรียนมีความรู้ด้านทันตสุขภาพเพิ่มมากขึ้น (2) 2.เพื่อให้นักเรียนแปรงฟันได้ด้วยตนเองอย่างถูกวิธี (3) 3.เพื่อให้นักเรียนมีค่าแผ่นคราบจุลินทรีย์ (Plaque Index) ลดลง (4) 4.เพื่อให้ครูเกิดทักษะในการตรวจสุขภาพช่องปากเบื้องต้นและสามารถตรวจสุขภาพช่องปากเด็กในโรงเรียนได้ (5) 5.เพื่อให้แกนนำอาสาสมัครสาธารณสุขได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและคนในชุมชนได้

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการยิ้มสดใสเด็กตะลุโบะฟันดี ประจำปี 2560 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3011-1-03

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายหวันมูฮำมัดรุสดี เจะอาแว )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด