กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง


“ ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย ปี 2560 ”

รพ.สต.ควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
รพ.สต.ควนปริง

ชื่อโครงการ ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย ปี 2560

ที่อยู่ รพ.สต.ควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 60-L1489-1-16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.ควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย ปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ รพ.สต.ควนปริง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 60-L1489-1-16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ควนปริง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน ประสาทรับความรู้สึกจะทำงานได้ไม่ดีนักโดยเฉพาะการรับรู้ความรู้สึกเกี่ยวกับความเจ็บปวด การถูกกดทับ หรือความเย็นความร้อน ความเสื่อมนี้จะค่อยเป็นค่อยไปจนผู้ป่วยอาจไม่ได้สังเกต ในผู้ป่วยบางรายอาจรู้สึกมีอาการชา ปวดแสบ ปวดร้อน หรือเจ็บ การที่ประสาทรับความรู้สึกเสื่อมลง อาจทำให้ผู้ป่วยไม่ได้สังเกตว่าเท้ามีแผลซึ่งอาจเกิดจากรองเท้าบ้าง หรืออาจเหยียบของมีคมต่างๆ จนกระทั่งแผลใหญ่ขึ้น หรือมีอาการอักเสบเนื่องจากการติดเชื้อเกิดขึ้น ผู้ป่วยเบาหวานมักมีการติดเชื้อที่ผิวหนังหรือเล็บได้ง่าย เมื่อเกิดแผลช้ำมักจะตามมาด้วยการติดเชื้อเกิดความร้อน บวมแดง มีหนอง ถ้าไม่ทำการรักษา การติดเชื้อจะลุกลามมากขึ้น หรือเกิดเนื้อตาย ซึ่งสุดท้ายอาจต้องถูกตัดเท้า หรือขา พบได้สูงถึง 15-40 เท่าของผู้ป่วยที่ไม่เป็นเบาหวาน การรักษาแผลที่เท้าด้วยการตัดเท้านั้นไม่ใช่สิ่งที่ปลอดภัย เพราะผู้ป่วยร้อยละ 3-7 เสียชีวิตจากการผ่าตัด ส่วนผู้ที่ไม่เสียชีวิตจะเกิดปัญหาต่างๆ จากการผ่าตัดร้อยละ 36 ดังนั้น การป้องกันไม่ให้เกิดแผลจึงเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด การป้องกันทำได้โดยการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเองสม่ำเสมอทุกวัน การลดหรือขจัดปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ที่ทำให้เกิดแผลให้หมดไปหรือเหลือน้อยที่สุด
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลควนปริงเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยวิธีการใช้ภูมิปัญญาพื้นบ้านและการแพทย์แผนไทยซึ่งจะเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดการเกิดแผล และผสมผสานเพื่อส่งเสริมภูมิปัญญาพื้นบ้านที่ใช้สมุนไพรในการดูแลเท้าและยังให้ประชาชนรู้จักการใช้สมุนไพรพื้นบ้านมารักษา ป้องกันไม่ให้เกิดโรคในระยะเบื้องต้นได้อย่างถูกต้องและประชาชนจำนวนมากจะได้ประโยชน์จากโครงการนี้จึงกำหนดให้กิจกรรมเพื่อถวายเป็นพระราชกุศลแด่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เนื่องในวโรกาสสำคัญของชาติครั้งนี้ด้วย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคในตำบลควนปริง ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธีReactive Paper test
  2. เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย
  3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดมากขึ้นและสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ผู้ป่วยเบาหวานมีความรู้ในการดูแลฝ่าเท้าที่ถูกต้อง
    2. สามารถลดอาการชาฝ่าเท้าและลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวานได้
    3. สามารถลดความรุนแรงของการเกิดภาวะแทรกซ้อนที่อาจจะนำไปสู่การตัดนิ้วเท้าหรือขาในผู้ป่วยเบาหวานได้

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 65 คน 2.ผู้ป่วยมีความรู้ในการดูแลเท้าด้วยตนเอง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ให้ให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคในตำบลควนปริง ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธีReactive Paper test
    ตัวชี้วัด : เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคในตำยลควนปริงได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธีReactive Paper testจำนวน 89 ราย

     

    2 เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย
    ตัวชี้วัด : ประชาชนทุกคนที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย ร้อยละ 100

     

    3 ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดมากขึ้นและสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืด และสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ให้เกษตรกรและประชาชนผู้บริโภคในตำบลควนปริง ได้รับการเจาะเลือดตรวจคัดกรอง ค้นหาระดับสารเคมีฆ่าแมลงตกค้างในร่างกายโดยวิธีReactive Paper test (2) เพื่อให้ประชาชนทุกคนที่ตรวจพบภาวะเสี่ยง ในระดับ มีความเสี่ยงและ ระดับไม่ปลอดภัย ได้รับการส่งเสริมสุขภาพด้วยสมุนไพรไทย (3) ส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้เรื่องสมุนไพรรางจืดมากขึ้นและสามารถใช้บริโภค ลดความเสี่ยงโรคที่เกิดจากพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้อย่างถูกต้อง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ดูแลเท้าผู้ป่วยเบาหวานด้วยการแพทย์แผนไทย ปี 2560 จังหวัด ตรัง

    รหัสโครงการ 60-L1489-1-16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( รพ.สต.ควนปริง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด