กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. แกนนำอสม. มีความรู้ ทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวานเพิ่มขึ้น ร้อยละ 85
  2. แกนนำอสม. สามารคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลและสามารถส่งต่อผู้ป่วยมา รพ.สต. ร้อยละ 80
  3. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจประเมินเท้าเบื้องต้น ร้อยละ 100
  4. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าอบรม มีความรู้เรื่องการการดูแลเท้าเบื้องต้น ก่อนและหลังการอบรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 80
  5. กลุ่มผู้ป่วยเบาหวานไม่พบอัตราการเกิดแผลใหม่และการตัดนิ้ว/เท้า/ขา ร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1. แกนนำอสม.ได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน มากกว่าร้อยละ 90 2. แกนนำอสม.สามารถคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผลและสามารถส่งต่อผู้ป่วยมายัง รพ.สต. ร้อยละ 90
95.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าของตนเอง ร้อยละ 90 3. ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการประเมินเท้า ร้อยละ 100
100.00

 

3 3. เพื่อลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน
ตัวชี้วัด : 1.อัตราการเกิดแผลใหม่และการตัดนิ้ว/เท้า/ขา ลดลง ร้อยละ 100
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 250
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้แกนนำอสม.ได้รับความรู้ และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าผู้ป่วยเบาหวาน (2) 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับความรู้และทักษะในการดูแลสุขภาพเท้าด้วยตนเอง (3) 3. เพื่อลดอัตราการเกิดแผลที่เท้าของผู้ป่วยเบาหวาน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชาสัมพันธ์ วางแผน ซื้อวัสดุอุปกรณ์ (2) อบรมให้ความรู้ อสม. (3) อบรมให้ความรู้ กลุ่มเป้าหมาย และติดตาม ประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ระยะแรกผู้ป่วยไม่เห็นความสำคัญของการตรวจเท้า (2) การลงทะเบียนมีความยุ่งยากทั้งการลงข้อมูลเบื้องต้น และแบบประเมินการตรวจเท้า (3) การสื่อสารไม่ทั่วถึงทำให้ผู้ป่วยเบาหวานมาตรวจเท้าไม่ครบทุกคนครั้งแรกที่นัด

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh