กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ๑๐-๑๙ปี ร้อยละ ๒๕ (เป้า ๔ คน ผลงาน ๑ คน) ๒. เด็ก ๐-๖ ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ ร้อยละ ๙๘.๕๗ (เป้าหมาย ๑๔๐ คน ผลงาน ๑๓๘ คน) ๓. เด็ก ๐-๖ ปี ได้รับยการประเมินพัฒนาการและมีพัฒนาการสงสัะยล่าช้าได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองร้อยละ ๑๐๐ (เป้าหมาย ๓๖ คน ผลงาน ๓๖ คน.) ๔. เด็กที่พัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้นโดยผู้ปกครองแล้ว ยังมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการส่งต่อร้อยละ ๑๐๐ (เป้าหมาย ๓ คน ผลงาน ๓ คน)

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ 10-19ปี ไม่เกินร้อยละ 10
25.00

หญิงตั้งครรภ์ซ้ำในช่วงอายุ 10-19ปี ร้อยละ 25 (เป้า4/ผลงาน1)

2 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิดถึง5ปี
ตัวชี้วัด : 1. เด็ก 0-5ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ กระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องโดยผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 95 และในรายที่สงสัยมีพัฒนาการล่าช้าได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้สมวัย ละได้รับการส่งต่อในรายที่มีความผิดปกติ 2. เด็กอายุ 9เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กร้อยละ 100
98.57

เด็ก 0-ุ6ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ ร้อยละ 98.57 (เป้า 140 ผลงาน138) เด็ก 0-6 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการและมีพัฒนาการสงสัยล่าช้าได้รับการส่งต่อร้อยละ 100 (เป้า3ผลงาน3คน)

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 264 318
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 184 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 50 50
กลุ่มวัยทำงาน 0 218
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้วัยรุ่นและผู้ปกครองมีความรู้ในการป้องกันการตั้งครรภ์ที่ถูกต้อง (2) 2. เพื่อส่งเสริมภาวะโภชนาการและพัฒนาการเด็กอายุแรกเกิดถึง5ปี

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่๑. กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์ วัยรุ่นและผู้ปกครอง มีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน ๑๓๐ คน แบ่งเป็น วัยรุ่น ๑๐-๑๙ ปี จำนวน ๕๐ คน ผู้ปกครองวัยรุ่น ๕๐ คน หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล ๓๐ คน ๒. กิจกรรมประเมินภาวะโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก มีผู้เข้าร่วม ๑๓๘ คน แบ่งเป็น ผู้ปกครอง ๒๑๘ คน หนูน้อยสุขภาพดี ๒๐ คน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...การทำงานเป็นทีมกับเครือข่าย

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh