กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย


“ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2 ”

ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทราย

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2

ที่อยู่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤศจิกายน 2564 ถึง 30 กันยายน 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลดอนทราย อำเภอไม้แก่น จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤศจิกายน 2564 - 30 กันยายน 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 63,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดอนทราย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามหนังสืออ้างถึง จังหวัดปัตตานีได้แจ้งซักซ้อมแนวทางการใช้จ่ายงบประมาณในการดำเนินการการป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีผู้ว่าราชการจังหวัดหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้ว่าราชการจังหวัด มอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดตั้งสถานที่ควบคุมเพื่อสังเกตอาการเริ่มป่วย (Quarantine) ศูนย์พักคอยและการแยกกักตัวที่บ้าน (Community Isalation และ Home Isolation) พร้อมทั้งแจ้งแนวทางในการดำเนินการจัดหาวัสดุทางการแพทย์ สำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) หรือ Antigen Test Kit (ATK) ความละเอียดปรากฏตามหนังสืออ้างถึง นั้น จังหวัดปัตตานีได้รับการประสานจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดปัตตานี ว่า ได้กำหนดที่จะดำเนินการตรวจค้นหาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่เชิงรุก เพื่อการแยกตัวผู้ติดเชื้อออกจากชุมชนเข้ารับการกักตัวดูแลรักษาที่บ้าน หรือที่ศูนย์ฯพักคอยก่อนนำส่งโรงพยาบาลหรือโรงพยาบาลสนาม ซึ่งจะเป็นมาตรการลดการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโรนา 2019 (COVID 19) ในเขตพื้นที่ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเป้าหมายกลุ่มเสี่ยงที่จะต้องดำเนินการตรวจคัดกรองผู้เสี่ยงติดเชื้อเป็นรายพื้นที่แต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งจังหวัดปัตตานีพิจารณาแล้วเห็นว่า เพื่อให้การดำเนินการตรวจค้นหาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) ในพื้นที่เชิงรุก เป็นไปด้วยความเรียบร้อย บรรลุตามเป้าหมายที่กำหนด จึงขอให้เทศบาลและองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาดำเนินการจัดหาวัสดุทางการแพทย์ สำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID 19) หรือ Antigen Test Kit (ATK) ชนิด Professional Use Only ที่ได้รับอนุญาตให้ผลิต/นำเข้าจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เท่านั้น ตามจำนวนเป้าหมายที่จะต้องดำเนินการตรวจค้นหาในพื้นที่ (ตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ปน 0023.3/ว.22829 เรื่อง การดำเนินการจัดหาวัสดุทางการแพทย์ สำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid -19)) พร้อมส่งมอบให้โรงพยาบาล หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล (รพ.สต.) ในพื้นที่ให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 เพื่อร่วมดำเนินการตรวจค้นหาผู้ติดเชื้อฯ ในพื้นที่ตามที่กำหนดต่อไป
ตำบลดอนทราย มีผู้ติดเชื้อทั้งสิ้น จำนวน 309 คน มีผู้เสียชีวิตจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  ( Covid -19) จำนวน 4 ราย เป็นผู้สูงอายุ 2 ราย และประชาชน จำนวน 2 ราย องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทรายได้เล็งเห็นความสำคัญของการตรวจเชื้อในเชิงรุกในพื้นที่ กลุ่มบุคคลเสี่ยง และกิจกรรมที่เสี่ยงเพื่อค้นหาผู้ที่ติดเชื้อหรือกลุ่มบุคคลที่มีความเสี่ยงสูงเพื่อแยกออกจากลุ่มประชาชนทั่วไปเพื่อเข้าสู่ระบบ การแยกกักตัวดูแลที่บ้าน หรือเข้าสู่ศูนย์พักคอย หรือโรงพยาบาลสนามหรือโรงพยาบาลเพื่อให้การรักษาได้ทันที ลดอาการรุนแรงหรือการเสียชีวิตของประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทรายได้จัดหาชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) จำนวนทั้งสิ้น 370 ชุด  และต้องหาเพิ่มตามหนังสือด่วนที่สุด ที่ปน 0023.3/ว.22829 เรื่อง การดำเนินการจัดหาวัสดุทางการแพทย์ สำหรับการตรวจหาเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( Covid -19)) ตามบัญชีจำนวนเป้าหมายวัสดุทางการแพทย์ฯ ระบุให้จัดหาชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อส่งมอบให้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล (รพ.สต.) แห่งละ 560 ชุด องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทรายจึงต้องดำเนินการจัดหา ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพิ่ม จำนวน 750 ชุด เพื่อให้เพียงพอในการค้นหากลุ่มเสี่ยง และกลุ่มป่วยเชิงรุกในพื้นที่
ดังนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทราย จึงได้จัดทำโครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2 ประจำปีงบประมาณ 2565 เพื่อดำเนินการจัดหาชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) เพื่อยุติการแพร่ระบาดให้ได้โดยเร็ว เพื่อให้ประชาชนสามารถ กลับใช้ชีวิตอย่างปกติสุข โดยใช้วิถี New normal ในเร็ววัน ซึ่งการดำเนินการยังคงต้องบูรณาการการทำงานกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทรายจัดหา ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) หน่วยบริการสาธารณสุขในพื้นที่ ดำเนินการคัดกรองเชิงรุก และรายงานการใช้ ชุดตรวจ Antigen Test Kit (ATK) ให้ องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทรายทราบ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน
  2. 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19
  3. 3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 375
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน
    2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่มีพฤติกรรมตามหลัก New Normal และ DMHTT สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19
    3. มีกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ได้รับความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน
    0.00

     

    2 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19
    ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่มีพฤติกรรมตามหลัก New Normal และ DMHTT สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19
    0.00

     

    3 3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19
    ตัวชี้วัด : 3. มีกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 375
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 375
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง ได้รับการเฝ้าระวัง คัดกรองเบื้องต้นด้วย ATK ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด ให้ความรู้ด้านระบาดของโรคติดเชื้อโควิด-19 เพื่อไม่ให้เป็นพาหะนําโรคระบาด ในชุมชน (2) 2. เพื่อสร้างความตระหนักให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูง และครอบครัวรวมถึงบุคคลในท้องถิ่นพื้นที่ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ทัศนคติให้สามารถลดความเสี่ยงการแพร่ระบาดติดเชื้อโรคโควิด-19 (3) 3. สร้างกลไกการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลกันและกันในการป้องกันการระบาดของโรคโควิด19

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรองผู้มีความเสี่ยงในการติดเชื้อไวรัสโคโรนา (Covid-19) พื้นที่ตำบลดอนทราย ระยะที่ 2 จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลดอนทราย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด