กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

account_balance

แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2565 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า

แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2565 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า
อำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่
ประจำปีงบประมาณ 2565

stars
ข้อมูลแผนงาน
ชื่อแผนงาน แผนงานกิจกรรมทางกาย ปี 2565 กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า
ประเด็นแผนงาน แผนงานกิจกรรมทางกาย
องค์กร กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านเหล่า
ปีงบประมาณ 2565
stars
สถานการณ์ปัญหา
สถานการณ์ปัญหาแบบสอบถาม
navigate_before 2564 navigate_next
ขนาด
1 ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)

 

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนเด็กปฐมวัย อายุ 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)
จำนวนเด็กปฐมวัย อายุ 2-4 ปี ในชุมชน
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

จำนวนเด็กที่ออกกำลังกายเพียงพอ อายุ 5-17 ปี จำนวน 297 คน /จำนวนเด็กทั้งหมด496 x 100

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)
จำนวนเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี
59.88
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

ผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ จำนวน 2257 คน / จำนวนผุ้ใหญ่วัย 18-64 จำนวน 3472 x 100

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)
จำนวนผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี
65.01
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

ผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ จำนวน 578 คน/จำนวนผู้สูงอายุ 963 คน x 100

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)
จำนวนผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป
60.02
5 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ลานกีฬา หมู่บ้าน 9 แห่ง อบต. 1 แห่ง รวม 10 (10x100)/10 = 100

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนพื้นที่สาธารณะที่มีการใช้ประโยชน์ (แห่ง)
จำนวนพื้นที่สาธารณะทั้งหมด (แห่ง)
100.00
6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

จำนวนคนที่สัญจรโดยการเดินหรือจักรยานในชุมชน 2465 คน/จำนวนประชากร อายุ 5 ปี ขึ้นไป 4931 คน  x 100

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน
จำนวนคนทั้งหมด
49.99
7 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

จำนวนประขากรที่ออกกำลังกายเพียงพอในชุมชน 2960 คน / จำนวนประชากรวัย 5 ปีขึ้นไปจำนวน 4931 คน x100

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนคนที่ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ อย่างน้อย 3 วัน/สัปดาห์
จำนวนคนทั้งหมด
60.02
8 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

(3 / 6) X100 =50

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
โรงเรียนในชุมชนของท่าน จัดการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉงกี่ชั่วโมงต่อสัปดาห์
จำนวนเวลาเรียนทั้งหมดใน 1 สัปดาห์ 35
50.00
9 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

รพสต.1 โรงเรียน 3 อบต.1 รวม 5 (4x100)/5 = 80

ข้อมูลสำหรับคำนวณร้อยละสถานการณ์ปัญหาค่าบันทึก
จำนวนสำนักงานหรือหน่วยงานราชการในพื้นที่ของท่านที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน
จำนวนสำนักงานหรือหน่วยงานราชการทั้งหมดในพื้นที่ของท่าน
80.00

 

stars
วัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ตัวชี้วัดขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย

ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)

2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

59.88 65.00
3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

65.01 70.00
4 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

60.02 65.00
5 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

100.00 100.00
6 เพื่อเพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

49.99 55.00
7 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

60.02 65.00
8 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

50.00 55.00
9 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

80.00 85.00
stars
แนวทาง/วิธีการสำคัญ
แนวทางวิธีการสำคัญ
1 การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย

การขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายสาธารณะในพื้นที่เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายการขับเคลื่อนกระบวนการนโยบายสาธารณะในพื้นที่เป็นการผลักดันให้ชุมชนมีนโยบาย ข้อตกลงร่วมกันของชุมชน ในการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย

วิธีการ

  1. ผลักดันนโยบายศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนจัดรูปแบบกิจกรรมทางกายควบคู่กับกิจกรรมด้านอาหารและโภชนาการ
  2. ผลักดันนโยบายการปรับปรุงสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา สถานประกอบการที่เอื้อต่อการสร้างแรงจูงใจ ความปลอดภัยในการมีกิจกรรมทางกาย
  3. ร่วมสร้างนโยบายของหน่วยงาน สถานประกอบการ ในการจัดสรรเวลา สถานที่ และส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายของพนักงาน
  4. ร่วมสร้างข้อตกลงชุมชนในการใช้พื้นที่สาธารณะ การใช้เส้นทางสัญจร (เดิน/จักรยาน) ที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  5. ผลักดันนโยบายสนับสนุนผู้สูงอายุเป็นจิตอาสาเป็นวิทยากรในสถานศึกษาต่าง ๆ
  6. สนับสนุนข้อตกลงของชุมชนในการกำหนดให้มีการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายควบคู่กับการส่งเสริมกีฬาของเยาวชนในพื้นที่
2 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ทั้งพื้นที่ที่เป็นบ้าน โรงเรียน สถานที่ทำงาน ศาสนสถาน พื้นที่สาธารณะ และชุมชน

การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ทั้งพื้นที่ที่เป็นบ้าน โรงเรียน สถานที่ทำงาน ศาสนสถาน พื้นที่สาธารณะ และชุมชน

การสร้างพื้นที่สุขภาวะ โดยการทำให้สภาพแวดล้อมทั้งในสถานที่อยู่อาศัย สถานศึกษา สถานที่ทำ งาน สถานประกอบการในภาครัฐและเอกชน สถานบริการสุขภาพ ศาสนสถาน และพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย เป็นการช่วยให้ทุกคน ทุกภาคส่วน ทุกระดับ เข้ามามีส่วนร่วมในเรื่องกิจกรรมทางกาย

วิธีการ

  1. จัดกิจกรรมที่เอื้อให้พ่อ-แม่ ลูก และผู้สูงวัยได้ทำกิจกรรมร่วมกัน เช่น เดินปั่นสำรวจแหล่งวัฒนธรรม แหล่งสมุนไพร
  2. จัดกิจกรรมส่งเสริมการเคลื่อนไหวให้กับคนในชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียนกลุ่มผู้สูงอายุ โดยใช้การละเล่นไทย เช่น ตี่จับ/ กระโดดเชือก/ มวยไทย; และกีฬาไทย เช่น การเซิ้ง ร็องแง็ง  รำมวยไทย ตะกร้อลอดห่วง
  3. ร่วมกันพัฒนาศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน ให้มีสิ่งจูงใจในการมีกิจกรรมทางกาย เช่น การจัดแต่งขั้นบันไดด้วยภาพและเสียง
  4. ส่งเสริมการปรับวิธีการสอนในสถานศึกษาให้เน้นมีกิจกรรมทางกายแทนการบรรยาย ให้การบ้านการมีกิจกรรมทางกาย การสะสมแต้มการมีกิจกรรมทางกาย จำนวนการเดินรอบสนาม และเนื้อหาวิชาสุขศึกษา พละศึกษาครอบคลุมการเคลื่อนไหวในกิจวัตรประจำวัน การเกษตรในโรงเรียน
  5. จัดกิจกรรมบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับการเกษตร การจัดการเศรษฐกิจชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เช่น ปลูกพืชผักส่วนครัว กิจกรรมปลูกป่า กิจกรรมการจัดการขยะ การลงแขกทำเกษตรแปลงรวม การปั่นจักรยานสำรวจแหล่งวัฒนธรรม ท่องเที่ยวในชุมชน กิจกรรมจิตอาสาอื่น ๆ
  6. มีกิจกรรมทางกายสำหรับกลุ่มเฉพาะอาชีพเฉพาะ เช่น ทอผ้า พนักงานในสำนักงาน
  7. ชุมชนร่วมกันจัดสภาพแวดล้อมในชุมชนให้สะอาด ปลอดภัยกับการมีกิจกรรมทางกายในชีวิตประจำวัน เช่น ทำความสะอาดเส้นทางสัญจรในชุมชนให้สะอาด ไม่มีสิ่งกีดขวางสำหรับการเดินปั่นจักรยาน;การลงแรงร่วมกันทำความสะอาด เก็บกิ่งไม้ สิ่งกีดขวางในพื้นที่สาธารณะ เพื่อใช้เป็นพื้นที่ในการพักผ่อน วิ่งเล่น หรือออกกำลังกายอื่น ๆ
  8. มีกิจกรรมต่าง ๆ ในสวนสาธารณะ เช่น ดนตรีในสวน ตลาดนัดสุขภาพ เดิน-วิ่ง-ปั่นจักรยานในสวน
  9. พัฒนาต้นแบบสถานที่ทำงานที่จัดให้มีการเคลื่อนไหวระหว่างทำงาน จัดอาหารสำหรับประชุมที่เอื้อต่อสุขภาพ
  10. สร้างพื้นที่ต้นแบบความร่วมมือของรัฐ ท้องถิ่น องค์กรธุรกิจ ในการสนับสนุนการใช้พื้นที่เพื่อการมีกิจกรรมทางกายของประชาชน
  11. การสร้างพื้นที่ต้นแบบการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ มรดกวัฒนธรรม สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ เพื่อการมีกิจกรรมทางกาย
  12. ประกวดบ้านกระฉับกระเฉง ครอบครัว สถานที่ทำงาน ชุมชน ที่มีการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง รวมทั้งการรับประทานผักและผลไม้อย่างน้อยวันละ 400 กรัม
  13. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนทั้งในบ้าน โรงเรียน ชุมชนอย่างมีคุณภาพ/ปลอดโรค/ปลอดภัย
  14. ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย/ลดพฤติกรรมเนือยนิ่งในสถานประกอบการ โปรแกรมองค์กรส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พัฒนาศักยภาพผู้นำส่งเสริมสุขภาวะ เน้นความร่วมมือในระดับนโยบายในการสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกาย
  15. พัฒนาและขยายผลต้นแบบเมืองสุขภาวะเพื่อรองรับวิถีชีวิตใหม่ ขยายผลต้นแบบ ผลักดันให้เกิดนโยบายหรือแผนปฏิบัติการอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อวางรากฐานของเมืองสุขภาวะ
3 การเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง

การเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง

การเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถจัดการตนเองได้ โดยสามารถวิเคราะห์สถานการณ์ปัญหาของชุมชน ค้นหาแนวทางนวัตกรรมแก้ไขปัญหา การจัดทำแผนและโครงการ และมีการติดตามประเมินผล

วิธีการ

  1. พัฒนาแนวทาง หรือรูปแบบการมีกิจกรรมทางกายในยุคชีวิตวิถีใหม่ จุดประกายให้เกิดวัฒนธรรมของการใช้ชีวิตที่กระฉับกระเฉง
  2. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดทำแผนสุขภาพ การจัดทำโครงการที่มีคุณภาพ และติดตามประเมินผล
  3. เสริมสร้างพลังอำนาจของชุมชนโดยดึงศักยภาพแกนนำและทรัพยากรที่มีในชุมชนมาสนับสนุนกำหนดอนาคตของชุมชนผ่านการทำแผนงานและโครงการ
  4. บูรณาการกลไกขับเคลื่อนปฏิบัติตามแผนงานและโครงการ กลไกเช่น กลไกวิชาการ กลไกพี่เลี้ยง กลไกระดับท้องถิ่น กลไกระดับอำเภอ กลไกระดับจังหวัด และกลไกระดับเขต
4 การพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และทักษะส่วนบุคคล และการพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่าย ในเรื่องดังนี้ 1. การส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ 2. การทำแผนสุขภาพ แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 3. การทำโครงการที่มีคุณภาพ 4. การติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

การพัฒนาความรู้ความเข้าใจ และทักษะส่วนบุคคล และการพัฒนาขีดความสามารถของเครือข่าย ในเรื่องดังนี้ 1. การส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ 2. การทำแผนสุขภาพ แผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย 3. การทำโครงการที่มีคุณภาพ 4. การติดตามประเมินผลที่มีประสิทธิภาพ

วิธีการ

  1. พัฒนาศักยภาพเรื่องการส่งเสริมกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ การจัดทำแผน การจัดทำโครงการที่มีคุณภาพ และการติดตามประเมินผล
  2. สร้างผู้นำการเปลี่ยนแปลงการมีกิจกรรมทางกาย สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ภูมิปัญญาการส่งเสริมกิจกรรมทางกายให้บุคคลอื่นๆ ได้
  3. สร้างการรับรู้กิจกรรมทางกายในระดับสาธารณะ สร้างการรับรู้กิจกรรมทางกายในยุค Next Normal ในระดับสาธารณะเพื่อเพิ่มความรู้ ความตระหนักสร้างวัฒนธรรมกิจกรรมทางกาย
  4. ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มเสี่ยง/กลุ่มที่มีการเคลื่อนไหวน้อย และกลุ่มเปราะบาง ส่งเสริมกิจกรรมทางกายในกลุ่มการเคลื่อนไหวน้อยและกลุ่มเปราะบาง โดยใช้ชุมชนเป็นฐานและเน้นและผลักดันให้เกิดการวางรากฐานและการขยายผล
  5. สร้างการสื่อสารในช่องทางต่าง ๆ ที่หลากหลายรูปแบบ ที่สอดคล้องกับวัยและวิถีการทำงานของกลุ่มอาชีพต่าง ๆเพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ และรณรงค์เรื่องกิจกรรมทางกาย และการลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของคนในชุมชน เช่น การจัดนิทรรศการ เสียงตามสายในโรงเรียน ชุมชน โบสถ์ มัสยิด
  6. ผลิตสื่อ สื่อเอกสาร หนังสั้น คลิปสั้น เพื่อการเรียนรู้ เชิญชวนให้คนมีกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่งด้านกิจกรรมทางกาย เพื่อให้สถานศึกษา หน่วยงาน องค์กร นำไปใช้ในระดับครัวเรือน ชุมชน ศูนย์เด็กเล็ก สถานที่ทำงาน
  7. สร้างรูปแบบ นวัตกรรม คู่มือ และสื่อการเรียนรู้เพื่อการเรียนรู้และการเล่นอย่างสร้างสรรค์ (Active learning active play) ในศูนย์เด็กเล็ก โรงเรียน พัฒนาหลักสูตรในพื้นที่ และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ที่สอดแทรกเนื้อหา วิธีการสอนที่เน้นการมีกิจกรรมทางกาย เช่น เกษตรในโรงเรียน กิจกรรมปลูกป่า เดินสำรวจสมุนไพร กีฬาและการละเล่นไทย
5 การปรับระบบบริการสุขภาพที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการสร้างกลไกความร่วมมือขององค์กร หน่วยงาน เครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

การปรับระบบบริการสุขภาพที่เอื้อต่อการส่งเสริมกิจกรรมทางกาย และการสร้างกลไกความร่วมมือขององค์กร หน่วยงาน เครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อการเพิ่มกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนการสร้างกลไกความร่วมมือขององค์กร หน่วยงาน เครือข่ายผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน เป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนกิจกรรมทางกาย ทั้งภาครัฐ เอกชน รัฐวิสาหกิจเครือข่ายศาสนา และภาคประชาชน

วิธีการ

  1. พัฒนาความร่วมมือในการใช้สนามในสถานที่ราชการ หรือเอกชนหลังเลิกงานเพื่อนันทนาการและออกกำลังกายสำหรับประชาชน
  2. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น/พื้นที่ให้มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องกิจกรรมทางกาย
  3. สร้างความร่วมมือกับองค์กร หน่วยงานในการสนับสนุนสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น แสงสว่างในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชนยามค่ำคืน
  4. ร่วมมือกับหน่วยงานสาธารณสุข การกีฬาแห่งประเทศไทย (กกท.) พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (พม.) ศึกษาธิการ (ศธ.) ในการสนับสนุนการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  5. การสนับสนุนกลุ่มชมรมต่างๆ ในชุมชนเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น ชมรมเดินวิ่ง ชมรมปั่นจักรยาน ชมรมผู้อายุ ชมรมแอโรบิค ชมรมกีฬาต่างๆในชุมชน
  6. พัฒนาระบบสนับสนุน และนวัตกรรมเพื่อส่งเสริมกิจกรรมทางกายอย่างต่อเนื่อง ระบบเฝ้าระวังสถานการณ์ ฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศ ด้านกิจกรรมทางกายและพฤติกรรมทางสุขภาพในมิติที่เกี่ยวข้อง กลไกผลักดันให้เกิดนโยบาย มาตรการหรือกลไกขยายผลนโยบาย
paid
งบประมาณที่ตั้งไว้ตามแผนงาน (บาท)
39850.00
stars
โครงการที่ควรดำเนินการ
ชื่อโครงการย่อยประเภทผู้รับผิดชอบงบประมาณที่ตั้งไว้ (บาท)
1 โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า 36,850.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
2 โครงการออกกำลังกายตามไลฟ์สไตน์ ชีวิตวิถีใหม่ (New Nomal) ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น ชมรมคนรักการออกกำลังกายตำบลบ้านเหล่า 3,000.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
3 โครงการดูแลสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานความดันโลหิตสูงตำบลบ้านเหล่า ประจำปีงบประมาณ2565 ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข รพสต.บ้านเหล่า 26,550.00
4 โครงการบ้านเหล่าน่าอยู่หมู่เฮารักความสะอาด(Big Cleaning Day) ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น อสม.ตำบลบ้านเหล่า 8,200.00
5 โครงการ morning exercise ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข อบต.บ้านเหล่า 0.00
6 โครงการจิตอาสาการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า 0.00
7 หน้าบ้านน่ามองหลังบ้านน่ากิน (บ้านสะอาด ปลอดขยะ ปลอดลูกน้ำยุงลาย) ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น อสม.หมู่ 9 8,925.00 find_in_pageพัฒนาโครงการ
8 โครงการสตรียุคใหม่ใส่ใจสุขภาพด้วยวิถี zero waste ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น อสม.ตำบลบ้านเหล่า 0.00
9 โครงการปั่นไปเรียน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น โรงเรียนวัดสิทธิวิมล โรงเรียนบ้านเหล่า โรงเรียนบ้านน้ำฮอก 0.00
10 โครงการเพื่อนเยี่ยมเพื่อน ประเภท 3 สนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ศูนย์เด็กเล็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า 0.00
stars
โครงการที่ขอการสนับสนุนจากกองทุน
ปีงบประมาณชื่อพัฒนาโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2565 โครงการส่งเสริมสุขภาพกายและสุขภาพจิตผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุตำบลบ้านเหล่า 36,850.00 link
2 2565 โครงการออกกำลังกายตามไลฟ์สไตน์ ชีวิตวิถีใหม่ (New Nomal) ชมรมคนรักการออกกำลังกายตำบลบ้านเหล่า 3,000.00 link
3 2565 หน้าบ้านน่ามองหลังบ้านน่ากิน (บ้านสะอาด ปลอดขยะ ปลอดลูกน้ำยุงลาย) อสม.หมู่ 9 8,925.00 link
รวม 48,775.00
stars
โครงการที่ได้รับการสนับสนุนจากกองทุนเพื่อติดตาม
ปีงบประมาณชื่อติดตามโครงการประเภทองค์กรรับผิดชอบงบประมาณ (บาท)
1 2565 โครงการออกกำลังกายตามไลฟ์สไตน์ ชีวิตวิถีใหม่ (New Nomal) ชมรมคนรักการออกกำลังกายตำบลบ้านเหล่า 3,000.00 link
2 2565 หน้าบ้านน่ามองหลังบ้านน่ากิน (บ้านสะอาด ปลอดขยะ ปลอดลูกน้ำยุงลาย) อสม.หมู่ 9 8,925.00 link
รวม 11,925.00