กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อรณรงค์ ให้ผุ้ปกครองนักเรียน ครู ผู้ดูแลเด็กและบุคลากรในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสวน มีความรู้ มีส่วนร่วมในการลด ละ เลิกบุหรี่และยาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมวางแผนคณะทำงาน ครู ผู้ดูแลเด็กและบุคลากร (2) จัดอบรม ให้ความรู้ แก่ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็กและบุคลากรเรื่องโทษของบุหรี่ สุรา และยาเสพติด (3) เดินถือป้ายรณรงค์ (4) สรุปผลรายงานผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ควรมีการจัดโครงการอบรมให้ความรู้ แก่เด็ก ผู้ปกครอง ครู ผู้ดูแลเด็ก และบุคลากร อย่างสม่ำเสมอ

คำสำคัญ

บุหรี่ สุรา และยาเสพติด เป็นอันตรายต่อชีวิตมนุษย์ในยุคปัจจุบันเป็นอย่างมาก และมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงมีการส่งเสริม และปลูกฝังให้ประชาชนและเยาวชนตระหนักถึงการ ลด ละ เลิกการสูบบุหรี่ การดื่มสุรา และยาเสพติด

บทนำ

ปัจจุบันประเทศไทยได้เผชิญกับปัญหาทั้งทางด้านบุหรี่ สุรา และยาเสพติดอย่างมาก และมีแนวโน้มสูงขึ้น รัฐบาลได้ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมในการที่จะให้ประชาชนได้เห็นถึงโทษของการสูบบุหรี่และการดื่มสุรา และยาเสพติด ที่ส่งผลกระทบต่อร่างกายและรณรงค์ให้ประชาชนทุกคนตระหนักถึงการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่และการดื่มสุรา ยาเสพติด อย่างจริงจัง โดยรณรงค์ให้ทุกคนใส่ใจกับสุขภาพของตนเองรวมถึงผู้ที่อยู่ใกล้เคียง แต่แนวโน้มของผู้ที่สูบบุหรี่และดื่มสุรามีเพิ่มมาก จากปัญหาการสูบบุหรี่และดื่มสุรา ได้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพคือ การเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคมะเร็ง ซึ่งมหันตภัยเงียบที่คุกคามสุขภาพและสถานการณ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังมีสาเหตุมาจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม จากการสูบบุหรี่ และดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จากพฤติกรรมดังกล่าว ที่ส่งผลให้เกิดภาวะน้ำหนักเกินและอ้วน ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง ภาวะไขมันในเลือดสูง ซึ่งปัจจัยเสี่ยงเหล่านี้ก่อให้เกิดโรคติดต่อเรื้อรัง จากการสำรวจพฤติกรรมการสูบบุหรี่และการดื่มสุราของประชากร พ.ศ. 2554 พบว่า ประชากรไทยอายุ 15 ปี ขึ้นไปจำนวน 53.9 ล้านคน มีอัตราการสูบบุหรี่ร้อยละ 21.4 โดยเป็นผู้ที่สูบเป็นประจำร้อยละ 18.4 สูบนาน ๆ ครั้งร้อยละ 2.9 ผู้ชายสูบมากว่าผู้หญิง 20 นอกจากปัญหาเรื่องบุหรี่ และสุรา แล้วยังพบว่าปัญหายาเสพติดเป็นปัญหาระดับชาติ ที่เรื้อรังและรุนแรงส่งผลกระทบต่อทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะปัญหายาบ้า กระท่อม ยาไอซ์ จากการวิเคราะห์ พบว่าผู้ที่ติดยาเสพติดเป็นปัญหาระดับชาติ ที่เรื้อรังและรุนแรงส่งผลต่อทุกภาคส่วนในสังคม โดยเฉพาะปัญหายาบ้า กระท่อม ยาไอซ์ จากการวิเคราะห์พบว่าผู้ที่ติดยาเสพติดมีการติดบุหรี่ก่อนที่จะลองยาเสพติดอื่น ๆ ถึงร้อยละ 87 ซึ่งพอจะสรุปได้ว่า บุหรี่ นั้นเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้ยาเสพติดชนิดอื่น ดังนั้นแนวคิดในการป้องกันเยาวชนรุ่นใหม่ในชุมชน หรือประชาชน จากบุหรี่จึงเป็นแนวคิดที่ดี ถ้าหากประสบความสำเร็จก็จะสามารถป้องกันการใช้ยาเสพยาติดชนิดอื่น ๆ ต่อไป

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

check_circle

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
check_circle
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
check_circle
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
check_circle
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
check_circle
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
check_circle
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
check_circle
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
check_circle
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
check_circle
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
check_circle
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
check_circle
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน
check_circle

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ
check_circle

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
check_circle

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)
check_circle

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)
check_circle

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง
check_circle

 

2. การกำหนดขอบเขต

check_circle

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต
check_circle

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต
check_circle

 

3) เครื่องมือที่ใช้
check_circle

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

1.ผู้ปกครองได้รับความรู้เกี่ยวโทษของ การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา และยาเสพติด 2.ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กปลอดความเสี่ยงจาก บุหรี่ สุรา และยาเสพติด

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ