กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลกะลุวอประจำปี 2565

โครงการฝึกอบรม"แนวทางการบริหารงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯและการบริหารงาน งบค่าบริการสาธารณสุขที่มีภาวะพึ่งพิงฯ (ค่าบริการ LTC) ในการดูแลผู้สูงอายและบุคคลอื่นที่มีภาวะพึ่งพิงในภาวะวิกฤติเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่"4 มีนาคม 2565
4
มีนาคม 2565รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลกะลุวอ
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

บรรยายเรื่อง วันที่ 1 - หน้าที่และอำนาจที่อบจ. เทศบาลและอบต. ในการสนับสนุนการปฏิบัติงานในการป้องกันควบคุมโรคติดต่อ และการรักษาพยาบาล และการให้ความช่วยเหลือผู้ที่ได้รับผลกระทบ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) - ขั้นตอนการดําเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ “เรื่องหลักเกณฑเพื่อสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 รวมแกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3 พ.ศ.2563)” - กระบวนการแตงกรรมการฯ อนุกรรมการฯ และคณะทํางานฯ - อํานาจหนาที่ของคณะกรรมการฯ อนุกรรมการ และคณะทํางานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ - การบริหารกองทุนฯ กรณีผูบริหารทองถิ่น หรือสมาชิกสภาทองถิ่นหมดวาระหรือสิ้นสุดการดํารงตําแหนง - การเบิกคาตอบแทนของคณะกรรมการฯ อนุกรรมการ และคณะทํางาน - กระบวนการแตงตั้ง “อนุกรรมการสนับสนุนการจัดบริการดูแลระยะหางสําหรับผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ” - เทคนิคการดําเนินงานการบริการดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง (LCT) - วิธีการจัดทําปญญากองทุนหลักประกันสุขภาพหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการ - โครงการอาสาสมัครบริบาลทองถิ่นเพื่อดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึง - ที่มาโครงการอาสาสมัครบริบาลทองถิ่นเพื่อดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึง - คุณสมบัติของอาสาสมัครบริบาลทองถิ่นเพื่อดูแลผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพึง - งบประมาณในการดําเนินการโครงการอาสาสมัครบริบาลทองถิ่นฯ - การสรรหา บทบาทและหนาที่ การควบคุมกํากับและดูแลอาสาสมัครบริบาลทองถิ่นฯ - แนวทางการปฏิบัติงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพชาติ“เรื่อง หลักเกณฑเพื่อสนับสนุน ใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และแกไขเพิ่ม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2562 - หลักการพิจารณาและอนุมัติโครงการ/การออกคําสั่ง/การรับเงินการจายเงินของ หนวยงานที่ขอรับการสนับสนุนจากกองทุน - ตัวอยางการจัดทําเอกสารงานกองทุน เชน การตั้งฎีกา การจดบันทึกรายงานการประชุม เอกสารการเบิกจาย ตัวอยาง ระเบียบกองทุน - การรับเงิน การเบิกจายเงิน การจัดทําแผน ของศูนยพัฒนาเด็กเล็กฯ ศูนยคนพิการและศูนยผูสูงอายุ

วันที่ 2 - ประเด็นสําคัญของประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ “เรื่อง หลักเกณฑเพื่อสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2563” (ฉบับแกไขเพิ่มเติมใหม) - การดําเนินการของประธานกองทุนฯในการอนุมัติโครงการหรือกิจกรรมเพื่อปองกันและแกไขปญหาดานสาธารณสุข กรณีเกิดโรคระบาดของโรคติดตอรายแรงตามกฏหมายวาดวยโรคติดตอไดตามความจําเปนไม เกิน 100,000 บาท - ประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแหงชาติ “เรื่อง หลักเกณฑการสนับสนุนและสงเสริมศูนยพัฒนาและฟนฟูคุณภาพชีวิตผูสูงอายุและผูพิการ พ.ศ.2560 - ปญหาการดําเนินงานดูแลระยะยาวดานสาธารณสุขสําหรับผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง - เอกสารตัวอยาง แบบฟอรมตาง ๆ ที่ใชในการปฏิบัติงานกองทุนฯ - การปฏิบัติงานกองทุนกับความเชื่อมโยงการทํางานขององคกรปกครองทองถิ่นในการสนับสนุนเพื่อควบคุมและปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID 19 ) เชน การจัดซื้อวัสดุทางการแพทย เชนหนากากอนามัย เจล แอลกอฮอล การซื้อวัคซีนขุดตรวจ ATK คาใชจายในศูนยพักคอยและการแยกตัวกักที่บานสําหรับคนในชุมชน (Community Isolation และ Home Isolation) คาใชจายในสถานควบคุมเพื่อสังเกตุอาการการเริ่มปวย (Local Quarantine) เปนตน - หลักเกณฑ แนวทางการปฏิบัติตามหนังสือสั่งการที่เกี่ยวของกับกองทุนฯ - เทคนิคการสรางความสําเร็จในการปฏิบัติงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ - เจาะลึกประเด็นปญหาในทางปฏิบัติในการแกไขปญหาเกี่ยวกับการดําเนินงานกองทุนฯ - ตอบปญหาขอซักถาม

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.มีความรูความเขาใจแนวทางการบริหารจัดการการควบคุมปองกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ตามหนาที่และอํานาจในประกาศคณะกรรมการหลักสุขภาพแหงชาติ เรื่องหลักเกณฑเพื่อสนับสนุนใหองคกรปกครองสวนทองถิ่นดําเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 (รวมแกไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 3 พ.ศ.2563) มากยิ่งขึ้น

2.มีความรูความสามารถดูแลผูที่อยูในภาวะพึ่งพิงไดรับการบริการอยางตอเนื่อง โดยผูดูแลผูสูงอายุ (Caregiver) ผูจัดการดูแลผูสูงอายุ (Care Manager) อาสาสมัครบริบาลในการปองกันการแพร ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ซึ่งดําเนินงานตามโครงการจัดบริการดูแลระยะยาวสําหรับผูสูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงและบุคคลอันที่มีภาวะพึ่งพิง (LTC) ตามแนวทางของกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข อันจะเกิดประโยชนตอผูรับบริการไดอยางตอเนื่อง

3.มีความรูความเขาใจในการวิเคราะหอํานาจหนาที่ และแนวทางการใชงบประมาณใหถูกตองตามระเบียบหลักเกณฑ เชน การจัดซื้อวัสดุทางการแพทย เชนหนากากอนามัย เจล แอลกอฮอร การซื้อ วัคซีน ขุดตรวจ.ATK คาใชจายในศูนยพักคอยและการแยกตัวกักที่บานสําหรับคนในชุมชน (Community Isolationและ Home Isolation) คาใชจายในสถานควบคุมเพื่อสังเกตุอาการการเริ่มปวย (Local Quarantine) เปนตน ทําใหสามารถวิเคราะหในการใชงบประมาณ ไดอยางถูกตองเปนไปตามหลักเกณฑและหนังสือสั่งการ

4.มีความรูความเขาใจ วิธีปฏิบัติที่ถูกตองเกี่ยวกับการรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การจายเงิน และการจัดทําบัญชีกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับทองถิ่นหรือพื้นที่ตามประกาศคณะกรรมการ หลักประกันสุขภาพแหงชาติ ทําใหสามารถชี้แจงกับหนวยตรวจสอบได