กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็กปี 2565 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองกันตัง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็กปี 2565

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-02-27 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 4 มกราคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็กปี 2565 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็กปี 2565



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็กปี 2565 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 65-L6895-02-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 4 มกราคม 2565 - 31 สิงหาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,930.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ผู้สูงอายุ ถือเป็นวัยที่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ และถือเป็นวัยที่ทุกคนจะต้องหันมาดูแลและใส่ใจเป็นพิเศษ โดยเฉพาะผู้สูงอายุเองต้องให้ความสำคัญกับตนเอง เพราะสภาพร่างกายและจิตใจจะค่อยๆ เสื่อมถอยลงเรื่อยๆ สภาวะร่างกายที่ไม่ค่อยได้เคลื่อนไหว ไม่ค่อยได้ใช้งานทำให้ประสิทธิภาพการทำงานของกล้ามเนื้อหรือร่างกายลดน้อยลง และสภาพแวดล้อมที่ไม่เอื้อต่อการออกกำลังกาย หากไม่ดำเนินการแก้ไขใดใด ผู้สูงอายุ อาจจะมีสุขภาพที่ไม่แข็งแรง มีโรคแทรกซ้อน หรืออาจจะกลายเป็นผู้ป่วยติดเตียง หรือทั้งที่สิ่งเหล่านี้สามารถป้องกันได้ ซึ่งวิธีการป้องกันที่ง่ายที่สุดเลย คือ การออกกำลังกาย เพราะการออกกำลังกายนอกจากจะทำให้สุขภาพร่างกายแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บแล้ว ยังทำให้สุขภาพจิตใจดีตามไปด้วย การออกกำลังกายแต่ละอย่างก็จะเหมาะสมกับแต่ละช่วงอายุแตกต่างกันไป
ไทเก๊ก หรือ ไท่เก๊กคุ้ง (Taijiquan หรือ Tai’chi Chua) เป็นการออกกำลังกายที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดลมหายใจ โดยกระบวนท่าของการรำไทเก๊ก ได้มาจากการเลียนแบบท่าทางการเคลื่อนไหวของสัตว์ต่างๆ ปัจจุบันการรำไทเก๊ก ได้รับความนิยมมากในกลุ่มผู้สูงอายุ เพราะเป็นไม่ต้องใช้กล้ามเนื้อและออกแรงเคลื่อนไหวมาก ช่วยปรับสมดุลระบบหมุนเวียนเลือดให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังเป็นการฝึกสมาธิ กำหนดลมหายใจ ช่วยผ่อนคลายความเครียดอีกด้วย ทางชมรมผู้สูงอายุ เทศบาลเมืองกันตัง เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุเพื่อให้ผู้สูงอายุมีการเรียนรู้ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ และสามารถใช้ชีวิตบั้นปลายได้อย่างมีความสุข จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็ก ปี 2565 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (อายุ 50-59ปี) มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
  2. เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายพัฒนากล้ามเนื้อและสมองในผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ
  3. กิจกรรมออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
  2. ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ มีกิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่สมชิกชมรมผู้สูงอายุ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่สมชิกชมรมผู้สูงอายุ ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง  จำนวน  30  คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น  โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19

 

0 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ

วันที่ 24 มิถุนายน 2565 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุจำนวน 30 คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุจำนวน 30 คน เมื่อวันที่  24มิถุนายน  2565  ณ อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  โดยให้ความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน...มัน...เค็ม  โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง  เรื่องหลักการและประโยชน์ของการออกกำลังกายแบบไทเก๊กเพื่อสุขภาพ  พร้อมฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบไทเก๊กโดย  วิทยากรจากชมรมผู้สูงอายุเทศบาลนครตรัง  ซึ่งปฏิบัติตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
2. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ  จำนวน 30 คน  พบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ  94  มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.7  ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้ 2.1 ด้านวิทยากร  และสื่อที่ใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.7 คิดเป็นร้อยละ 94
- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.83  คิดเป็นร้อยละ 96.6 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย  ค่าเฉลี่ย 4.67 คิดเป็นร้อยละ 93.4
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.6 คิดเป็นร้อยละ  92 2.2  ด้านความรู้ ความเข้าใจ  และการนำไปใช้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.65  คิดเป็นร้อยละ  93
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.6 คิดเป็นร้อยละ  92
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.70 คิดเป็นร้อยละ  94 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย  4.53  คิดเป็นร้อยละ  90.6 2.3  ด้านสถานที่/ระยะเวลา  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย 4.53  คิดเป็นร้อยละ 90.6 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก  ค่าเฉลี่ย 4.27 คิดเป็นร้อยละ 85.4 2.4  ภาพรวมของโครงการ  มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด  ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90

 

30 0

3. กิจกรรมออกกำลังกาย

วันที่ 25 มิถุนายน 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมออกกำลังกายในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน สลับกับกิจกรรมทางกายแบบอื่นๆ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดกิจกรรมออกกำลังกายในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน สลับกับกิจกรรมทางกายแบบอื่นๆ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดกิจกรรมคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นแก่สมชิกชมรมผู้สูงอายุ ซึ่งมีผู้สนใจเข้ารับการคัดกรอง จำนวน 30 คน (ชั่งน้ำหนัก/วัดรอบเอว/วัดความดันโลหิต/ประเมินดัชนีมวลกาย) เพื่อประเมินสภาวะสุขภาพเบื้องต้น โดยดำเนินการตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
  2. จัดกิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่สมาชิกชมรมผู้สูงอายุจำนวน 30 คน เมื่อวันที่  24มิถุนายน 2565 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง โดยให้ความรู้เรื่อง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดหวาน...มัน...เค็ม โดยมีวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง เรื่องหลักการและประโยชน์ของการออกกำลังกายแบบไทเก๊กเพื่อสุขภาพ พร้อมฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายแบบไทเก๊กโดย วิทยากรจากชมรมผู้สูงอายุเทศบาลนครตรัง ซึ่งปฏิบัติตามมาตรการ/แนวทางการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19 ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ภายใต้สถานการณ์การควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด-19
  3. ประเมินความพึงพอใจผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 30 คน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมร้อยละ 94 มีความพึงพอใจในการดำเนินโครงการอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.7 ซึ่งสามารถสรุปในแต่ละด้านได้ดังนี้ 3.1 ด้านวิทยากร และสื่อที่ใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.7 คิดเป็นร้อยละ 94

- เนื้อหาครบถ้วนเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.83 คิดเป็นร้อยละ 96.6 - วิทยากรถ่ายทอดความรู้ และตอบข้อซักถามได้ชัดเจน มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย ค่าเฉลี่ย 4.67 คิดเป็นร้อยละ 93.4
- สื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมมีความเหมาะสม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.6 คิดเป็นร้อยละ 92 3.2 ด้านความรู้ ความเข้าใจ และการนำไปใช้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.65 คิดเป็นร้อยละ 93
- มีความรู้ความเข้าใจหลังการอบรม มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.6 คิดเป็นร้อยละ 92
- สามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.70 คิดเป็นร้อยละ 94 - สามารถนำความรู้ไปเผยแพร่/ถ่ายทอดได้ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6 3.3 ด้านสถานที่/ระยะเวลา มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.40 คิดเป็นร้อยละ 88 - ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6 - สถานที่ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมเหมาะสมเพียงใด มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.27 คิดเป็นร้อยละ 85.4 3.4 ภาพรวมของโครงการ มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 4.53 คิดเป็นร้อยละ 90.6 4. จัดกิจกรรมออกกำลังกายในสมาชิกชมรมผู้สูงอายุอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน สลับกับกิจกรรมทางกายแบบอื่นๆ

5. สรุปค่าใช้จ่ายตามโครงการ จำนวน 19,930 บาท โดยมีรายละเอียดดังนี้   กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น - ค่าเจลล้างมือแอลกอฮอล์ 2 ขวด เป็นเงิน  180 บาท - ค่าหน้ากากอนามัยทางการแพทย์ 2 กล่อง เป็นเงิน  250 บาท - ค่าถุงมือทางการแพทย์ 1 กล่อง เป็นเงิน  190 บาท - ค่าถ่ายเอกสารแบบคัดกรอง/ประเมินสุขภาพ เป็นเงิน    30 บาท - ค่าเครื่องวัดอุณหภูมิแบบดิจิตอลมีขาตั้ง 1 เครื่อง เป็นเงิน  1,200 บาท   กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ - ค่าสมนาคุณวิทยากร  เป็นเงิน  3,600 บาท - ค่าป้ายไวนิลโครงการ 1 ผืน เป็นเงิน  300 บาท - ค่าอาหารกลางวัน เป็นเงิน  2,100 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม เป็นเงิน  1,800 บาท - ค่าเอกสารประกอบการอบรม/แบบประเมิน  เป็นเงิน  375 บาท - ค่าวัสดุ/อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน  925 บาท กิจกรรมออกกำลังกาย - ค่าครุภัณฑ์เครื่องขยายเสียงเคลื่อนที่แบบลากจูง 1 เครื่อง เป็นเงิน  8,800 บาท - ค่าเจลล้างมือแอลกอฮอล์ 2 ขวด เป็นเงิน  180 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (อายุ 50-59ปี) มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์ สามารถดูแลตนเองได้
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายพัฒนากล้ามเนื้อและสมองในผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจในโครงการอยู่ในระดับมาก

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ  (อายุ 50-59ปี)  มีสุขภาพอนามัยที่พึงประสงค์  สามารถดูแลตนเองได้ (2) เพื่อส่งเสริมการออกกำลังกายพัฒนากล้ามเนื้อและสมองในผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมและกลุ่มเตรียมตัวเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรอง/ประเมินภาวะสุขภาพเบื้องต้น (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (3) กิจกรรมออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ออกกำลังกายแบบไทเก็กปี 2565 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 65-L6895-02-27

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ศูนย์บริการสาธารณสุขเทศบาลเมืองกันตัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด