กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคเบาหวาน
14.55 10.38 10.38

ประชาชนในเขตรับผิดชอบมีอัตราการป่วยเป็นโรคเบาหวานลดลงจากปีงบประมาณ 2565

2 2.เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ลดอัตราเสี่ยงของการเป็นโรคความดันโลหิตสูง
13.98 10.25 10.25

ประชาชนในเขตรับผิดชอบมีอัตราการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลงจากปีงบประมาณ 2565

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1080 1080
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,080 1,080
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รายละเอียดกิจกรรมการคัดกรองโรคเรื้อรังแบบเชิงรุกในชุมชนหรือส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (2) รายละเอียดกิจกรรมติดตามการรักษาผู้ป่วยอย่างต่อเนื่อง (3) รายละเอียดกิจกรรมอบรมให้ความรู้และติดตามพฤติกรรมสุขภาพ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย (4) รายละเอียดกิจกรรมติดตามวัดความดันที่บ้านในกลุ่มสงสัยป่วย/ส่งต่อเพื่อการวินิจฉัย (5) รายละเอียดกิจกรรมติดตามผลการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงงบประมาณ ข้อเสนอแนะ ได้แก่ การนำรูปแบบไปใช้ ควรมีการประเมินเกี่ยวกับสภาพปัญหา ความต้องการของพื้นที่ และความรอบรู้ทางด้านสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงก่อนการดำเนินการ การนำรูปแบบเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูงด้วยกระบวนการจัดการความรู้ ไปใช้ในบริบทที่แตกต่างกันนั้น ควรมีการวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายและปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อพฤติกรรมของพื้นที่ก่อนดำเนินการ การเสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพสำหรับกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงด้วยกระบวนการจัดการความรู้ โดยเริ่มจากการศึกษาสภาพปัญหา และความต้องการของกลุ่มเสี่ยง การวางแผนและกำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการดำเนินงาน การกำหนดความรู้ที่ต้องการร่วมกันระหว่างทีมในพื้นที่และกลุ่มตัวอย่าง เลือกกลวิธีที่เหมาะสมกับวิถีชีวิตประจำวัน มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำความรู้ไปใช้ การมีส่วนร่วมของกลุ่ม มีการดำเนินงานตามรูปแบบการส่งเสริม เสริมสร้างพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ด้วยกระบวนการจัดการความรู้ และมีการกำกับติดตามการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องในการที่จะพัฒนาโครงการให้มีความยั่งยืนนั้น จะต้องให้กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้มีความรู้สึกว่า เป็นเจ้าของและลงมือ ดำเนินกิจกรรมด้วยตนเอง ตั้งแต่กระบวนการร่วมคิด ตัดสินใจและหาแนวทาง เพื่อแก้ไข

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh