กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเต้นแอโรบิก พฤกษา 16

รายละเอียดโครงการ
รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายเต้นแอโรบิก พฤกษา 16
รหัสโครงการ
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมแอโรบิก พฤกษา 16
วันที่อนุมัติ 1 มกราคม 2565
ปี 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 48,780.00
ผู้รับผิดชอบโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบางใหญ่ อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี
ประเด็น
แผนงานกิจกรรมทางกาย
สถานการณ์/หลักการและเหตุผล
  1. ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) ขนาด 35.93
  2. ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) ขนาด 28.00
  3. ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) ขนาด 9.00
  4. ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ขนาด 100.00
  5. ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน ขนาด 2.00

สุขภาพเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับคนทุกคน ในทุกๆ วันส่งผลอย่างสำคัญต่อคุณภาพของประชาชน เป้าหมายของระบบสุขภาพ ต้องมุ่งไปสู่การจัดการความสาัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องให้สามารถส่งเสริมให้เกิดสุขภาพที่ดีอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม มุ่งเน้น"สร้างนำซ่อม" คือ เน้นการสร้างสุขภาพ เช่น การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคและภัยคุกคามสุขภาพ มากกว่าการซ่อมแซมสุขภาพ เช่น การรักษาสิทธิในการมีสุขภาพดี หมายถึง การที่บุคลลครอบครัว ชุมชน สังคมโดยรวม มีสิทธิที่จะมีชีวิตร่วมกันอย่างปลอดภัย มีความสุข มีหลักประกัน และได้รับการพิทักษ์สุขภาพ

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
  4. เพิ่มพื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน
  5. เพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน
การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. กิจกรรมที่ 1
  2. กิจกรรมที่ 2
  3. กิจกรรมที่ 3
  4. กิจกรรมที่ 4
วิธีดำเนินการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สมาชิกในชมรมและประชาชนที่สนใจมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์เห็นความสำคัญของการออกกำลังกายมากขึ้น และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ 2.เด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) ร้อยละ 38 3.ผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์) ร้อยละ 29 4.คนในชุมชนมีการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน ร้อยละ 100 5.ในชุมชนมีคนที่ออกกำลังกายในชุมชน ร้อยละ 2.5