กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

1.1 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 220 คน เปรียบเทียบคะแนนก่อนอบรม ร้อยละ 26.77 หลังการอบรม ร้อยละ 93.18 มีค่าพัฒนาคิดเป็นร้อยละ 66.09 1.2 นักเรียนชี้นอนุบาล 2-3 จำนวน 80 คน เปรียบเทียบคะแนนก่อนอบรม ร้อยละ 33.75 หลังการอบรม ร้อยละ 97.00 มีต่าพัฒนาคิดเป็นร้อยละ 64.00 1.3 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 220 คน ก่อนการอบรมตรวจสุขภาพในช่องปากตามแบบงานเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน สรุป เหงือกอักเสบ หินนำ้ลายมี รักษาเร่งด่วนและฟันถาวรผุ เป็นปัญหา หลังการอบรมตรวจสุขภาพในช่องปากตามแบบงานเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน สรุป เหงือกอักเสบ หินน้ำลายมี รักาาเร่งด่วนและฟันถาวรผุ ไม่เป็นปัญหา 1.4 นักเรียนชั้นอนุบาล 2-3 จำนวน 80 คน หลังการอบรมตรวจสุขภาพในช่องปากตามแบบงานเฝ้าระวังและส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน สรุป ก่อนอบรมเด็กฟันผุลดลง 49 คน คิดเป็นร้อยละ 61.25 หลังอบรม 27 คน คิดเป็นร้อยละ 33.75 ผลต่างก่อนและหลังอบรม 22 คน คิดเป็นร้อยละ 27.5 เด็กที่มีฟันไม่สะอาดลดลง ก่อนอบรม 41 คน คิดเป็นร้อยละ 51.25 หลังอบรม 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 ผลต่างก่อนและหลังอบรม 35 คน คิดเป็นร้อยละ 43.75 เด็กมีอาการปวด/บวม/มีหนองลดลง ก่อนอบรม 8 คน คิดเป็นร้อยละ 10 หลังอบรม 2 คน คิดเป็นร้อยละ 2.5 ผลต่างก่อนและหลังอบรม 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7.5 หลังจากอบรมเด็กฟันผุ/เด็กที่มีฟันไม่สะอาด/เด็กมีอาการปวด/บวม/มีหนอง ลดลง 1.5 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 จำนวน 220 คน ผู้ปกครองบันทึกการแปรงฟันที่บ้าน เดือนสิงหาคม ร้อยละ 99.35 เดือนกันยายน ร้อยละ 99.42 รวมสองเดือน คิดเป็นร้อยละ 99.39 1.6 นักเรียนชั้นอนุบาล 2-3 จำนวน 80 คน แปรงฟันที่บ้าน เดือน สิงหาคม ร้อยละ 99.28 เดือน กันยายน ร้อยละ 99.17 รวมสองเดือน คิดเป็นร้อยละ 99.22 1.7 นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน นักเรียนชั้นประถมศึกาษาปีที่ 1-6 จำนวน 220 คน ครูบันทึกการแปรงฟันที่โรงเรียน เดือน สิงหาคม ร้อยละ 98.93 เดือน กันยายน ร้อยละ 99.46 รวมสองเดือน คิดเป็นร้อยละ 99.19 นักเรียนที่มาเรียนที่โรงเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน คิดเป้นร้อยละ 100 1.8 นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน นักเรียนชั้นอนุบาล 2-3 จำนวน 80 คน ครูบันทึกการแปรงฟันที่โรงเรียน เดือน สิงหาคม ร้อยละ 98.69 เดือนกันยายน ร้อยละ 99.66 รวมสองเดือน คิดเป็นร้อยละ 99.18 นักเรียนที่มาเรียนที่โรงเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน คิดเป็นร้อยละ 100 1.9 สรุปแบบประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 50 คน อยู่ในระดับดีมาก 1.10 นักเรียนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 300 คน ได้รับความรู้การดูแลสุขภาพในช่องปากตนเองได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพในช่องปาก
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อสร้างสุขนิสัยให้นักเรียนแปรงฟันที่โรงเรียนหลังอาหารกลางวันและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้การส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากในนักเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 284 301
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 284 301
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ดีในการดูแลสุขภาพในช่องปาก (2) เพื่อสร้างสุขนิสัยให้นักเรียนแปรงฟันที่โรงเรียนหลังอาหารกลางวันและมีทักษะการแปรงฟันที่ถูกต้องตามช่วงวัย (3) เพื่อให้การส่งเสริมสุขภาพและเฝ้าระวังสุขภาพช่องปากในนักเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ขั้นตอนการแปรงฟันส่งเสริมสุขภาพในช่องปากและผึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี (2) อบรมให้ความรู้ขั้นตอนการแปรงฟันส่งเสริมสุขภาพในช่องปากและฝึกทักษะการแปรงฟันอย่างถูกวิธี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh