กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
อบรมให้ความรู้ 1 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

รณรงค์ประชาสัมพันธ์ 1 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

ป้องกันควบคุมโรค 1 พ.ค. 2565

 

 

 

 

 

อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควัน 1 พ.ค. 2565 5 ส.ค. 2565

 

อบรมฟื้นฟูความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา ทีมฉีดพ่นหมอกควัน และประชาชนที่สนใจ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมในการควบคุม ป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชนในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่

 

ดำเนินการอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการฉีดพ่นหมอกควันให้กับเจ้าหน้าที่ อบต.ยะลา และประชาชนที่สนใจ และเกิดคณะทำงานในการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันและควบคุมที่เกิดจากยุง

 

รณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันและแก้โรคไข้เลือดออก 1 พ.ค. 2565 1 พ.ค. 2565

 

การสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายตามหมู่บ้านและชุมชน การรณรงค์ประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกแผ่นพับ และป้ายไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์

 

ดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์ โดยการแจกแผ่นพับ และคืนข้อมูลและความรู้ผ่านไวนิลรณรงค์ประชาสัมพันธ์โรคไข้เลือดออกในพื้นที่

 

กิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง และฉีดพ่นควบคุมการแพร่ระบาดของโรค 1 พ.ค. 2565 3 มิ.ย. 2565

 

  1. การป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในชุมชน โดยการแจกทรายอะเบทและทำการฉีดพ่นหมอกควันในพื้นที่ตำบลยะลาอย่างน้อยปีละ 2 ครั้งๆ ละ 4 วัน เป้าหมายเช่น โรงเรียนบ้านยะลา โรงเรียนบ้านปาโจ โรงเรียนธรรมศาสน์อิสลาม ปอเนาะบ้านหัวเขา มัสยิดและตาดีกาประจำมัสยิดพื้นที่ตำบลยะลา
  2. การควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในกรณีที่พบผู้ป่วยในพื้นที่ โดยออกทำการฉีดพ่นหมอกควันบริเวณโดยรอบพื้นที่บ้านของผู้ป่วยในระยะ 100 เมตร จำนวน 5 ราย ๆ ละ 4 วัน

 

  1. มีการดำเนินการฉีดพ่นหมอกควัน เพื่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออก ในมัสยิด ปอเนาะ และโรงเรียนในพื้นที่ตำบลยะลา จำนวน 1 ครั้ง ๆ ละ 4 วัน
  2. ไม่มีการดำเนินการฉีดพ่นหมอกควันเพื่อควบคุมการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออก เนื่องจากไม่มีรายงานการระบาดหรือผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่