กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ในชุมชนเขต 2

รายละเอียดโครงการ
รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ/กิจกรรม โครงการรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออกและโรคที่มียุงลายเป็นพาหะ ในชุมชนเขต 2
รหัสโครงการ L5278-65-2-07
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ประธาน อสม.ชุมชนเขต 2
วันที่อนุมัติ 4 มีนาคม 2565
ปี 2565
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 5 มกราคม 2565 - 30 กันยายน 2565
งบประมาณ 17,700.00
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอัมพร ถาวรจิตต์ ประธาน อสม.ชุมชนเขต 2
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลบ้านพรุ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
ประเด็น
แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง
สถานการณ์/หลักการและเหตุผล
  1. ร้อยละของประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด(คน) ขนาด 1.50
  2. ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน) ขนาด 2.85
  3. ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์) ขนาด 0.25

โรคไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย ส่วนใหญ่มักเป็นในเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ในผู้ใหญ่อาจพบได้บ้าง บางรายอาการรุนแรงจนทำให้เสียชีวิตได้ มักระบาดในช่วงหน้าฝนเพราะพาหะของโรคคือยุงลาย ลักษณะที่อยู่อาศัยของยุงลาย พบมากตามบ้านที่อยู่อาศัย ในสวน ขยายพันธ์ุโดยวางไข่ในน้ำนิ่งพบบ่อยในภาชนะน้ำขัง เช่น โอ่งน้ำ แจกันดอกไม้ ยางรถยนต์ หรือเศษวัสดุที่รองรับน้ำได้ทุกชนิด สร้างความสูญเสียชีวิตและค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและความสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจของประเทศ จากข้อมูลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตเทศบาลเมืองบ้านพรุ มีแนวโน้มสูงขึ้น ประชาชนส่วนใหญ่มุ่งแก้ปัญหาไปที่การกำจัดยุงตัวเต็มวัย การพ่นหมอกควัน เป็นต้น โดยไม่ได้กำจัดแหล่งเพาะพันธ์และไข่ลูกน้ำยุงลาย จึงทำให้ยุงร้นใหม่เกิได้ตลอดช่วงเวลา จึงไม่สามารถขจัดโรคไข้เลือดออกให้หมดไปจากชุมชนได้

วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
  1. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น
  2. เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากภาวะไข้เลือดออกระบาด
  3. เพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ
การดำเนินงาน/กิจกรรม
  1. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนในการดำเนินงานโครงการ
  2. รณรงค์ประชาสัมพันธ์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
  3. รณรงค์ประชาสัมพันธ์กำจัดลูกน้ำยุงลายในพื้นที่
  4. ครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย
  5. สรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  6. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
  7. ประชุมคณะทำงานเพื่อวางแผนดำเนินโครงการ
  8. เดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนเขต 2 ครั้งที่ 1
  9. Big cleaning Day ประจำเดือนชุมชนเขต 1
  10. เดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนเขต 2 ครั้งที่ 2
  11. เดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนเขต 2 ครั้งที่ 3
  12. เดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนเขต 2 ครั้งที่ 4
  13. สนับสนุนเวชภัณฑ์และวัสดุในการดำเนินกิจกรรม
  14. เดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนเขต 2 ครั้งที่ 5
  15. เดินรณรงค์สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชนเขต 2 ครั้งที่ 6
  16. สรุปผลการดำเนินโครงการ
  17. ครัวเรือนต้นแบบปราศจากลูกน้ำยุงลาย
  18. ประชุมสรุปผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ
วิธีดำเนินการ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ดัชนีความชุกของลูกน้ำยุงลายลดลง และจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง