กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ปัญหาของงานอนามัยมารดา มีการเปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย การแก้ไขปัญหาจึงเปลี่ยนไปตามสถานการณ์การดำเนินกิจกรรมของงานอนามัยมารดาขึ้นอยู่กับนโยบายของรัฐบาล ซึ่งบางครั้งไม่ตรงกับปัญหาในพื้นที่ และไม่ตรงกับปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ แนวทางแก้ไข คือ บุคลากรต้องติดตามสถานการณ์ ปัญหางานอนามัยมารดาอย่างต่อเนื่อง อธิบายให้หญิงตั้งครรภ์ทราบนโยบายและหาแนวทางแก้ไขปัญหาร่วมกัน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และญาติ พร้อมทั้งวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การดูแลครรภ์ขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ปฏิบัติตนได้ถูกต้องร้อยละ 90
90.00

 

2 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญฺิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ > ร้อยละ80
80.00

 

3 เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ > ร้อยละ 90
90.00

 

4 เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์คลอดลูกปลอดภัยทั้งแม่และลูกร้อยละ 100
100.00

 

5 เพื่อให้วัยเจริญพันธ์หรือวัยรุ่นมีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อม
ตัวชี้วัด : หญิงวัยเจริญพันธ์ตั้งครรภ์ครั้งแรก เมื่ออายุไม่น้อยกว่า 20 ปี
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ และญาติ พร้อมทั้งวัยเจริญพันธ์ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตัว การดูแลครรภ์ขณะตั้งครรภ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ (3) เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพชีวิตของมารดาและทารก (4) เพื่อลดภาวะเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับหญิงตั้งครรภ์คลอดและทารกในครรภ์ขณะคลอด (5) เพื่อให้วัยเจริญพันธ์หรือวัยรุ่นมีการตั้งครรภ์เมื่อพร้อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่วัยเจริญพันธ์ (2) บริการตรวจครรภ์หญิงตั้งครรภ์ทุกครั้งที่มาฝากครรภ์ (3) ติดตามเยี่ยมบ้าน (4) 1.1 เรื่องการเตรียมความพร้อมก่อนการตั้งครรภ์ (5) 1.2 ภาวะครรภ์ไม่พึงประสงค์ (6) 1.3 การตั้งครรภ์ในวัยรุ่น (7) 1.4 การปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และหลังคลอด (8) 1.5 ภาวะแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ (9) 2.1 ตรวจสุขภาพโดยทั่วไปของญิงตั้งครรภ์ (10) 2.2 ให้คำแนะนำตามสภาพปัญหาของแต่ละคน (11) 2.3 ให้คำแนะนำตามสภาพปัญหาของแต่ละคน (12) 3.1 ติดตามเยี่ยมบ้านหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงทุกราย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh