กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไป ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต
ตัวชี้วัด : อย่างน้อยร้อยละ 90
53.00 0.00

 

2 เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลแยกประเภทผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิต เป็นกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่สงสัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสขภาพและเปลี่ยนเป็นประชากรกลุ่มปกติเพิ่มขึ้น
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 ประชากรกลุ่มที่สงสัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อติดตามประชากรกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 2318
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 2,318
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรที่มีอายุ  35  ปีขึ้นไป  ที่ไม่ใช่ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรค ความดันโลหิตสูง  ได้รับการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต (2) เพื่อจัดระบบฐานข้อมูลแยกประเภทผู้ที่ได้รับการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและความดันโลหิต  เป็นกลุ่มปกติ  กลุ่มเสี่ยงและกลุ่มที่สงสัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ (3) ประชากรกลุ่มเสี่ยงของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสขภาพและเปลี่ยนเป็นประชากรกลุ่มปกติเพิ่มขึ้น (4) ประชากรกลุ่มที่สงสัยเป็นผู้ป่วยรายใหม่ ของโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ได้รับการส่งต่อ (5) เพื่อติดตามประชากรกลุ่มเสี่ยงให้ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1. จัดประชุมชี้แจงโครงการและแจ้งรายชื่อกลุ่มเป้าหมายพร้อมจัด ทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตในเขตรับผิดชอบ แก่ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง (2) กิจกรรม  2. ดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต  จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด    2,315  คน  คัดกรองจำนวน  2,084  คน  (ร้อยละ 90)    โดยแบ่งเป็น  5  หมู่บ้าน ดังนี้ (3) กิจกรรมที่ 2 การดำเนินงานตรวจคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิต (4) กิจกรรมที่ 3 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยการให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (5) กิจกรรมที่ 4 ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการ โดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (6) กิจกรรม  3. จัดประชุมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม โดยให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพป้องกันการเกิดโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง  จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด    150    คน  โดยแบ่งเป็น  5  หมู่  ดังนี้ (7) กิจกรรม  4. ติดตามกลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน    โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  วัดรอบเอวและประเมินดัชนีมวลกายพร้อมคืนข้อมูลผลการตรวจซ้ำให้กับกลุ่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh