กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ ๑ : กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ โดยวิทยากรนางสาวมาริสา บินตะสอน ตำแหน่ง เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุขชำนาญงาน (รับผิดชอบงานในตำแหน่งของนักวิชาการสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกเนียน ) ดำเนินการเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ. ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้ ผู้เข้าร่วมโครงการ ๓๑ คน มีความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้สำหรับป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ โดยมีคะแนนการทำแบบทดสอบความรู้เปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ ๑๐๐

กิจกรรมที่ ๒ : กิจกรรมสาธิตและให้ความรู้เรื่องการผสมดินปลูก การทำปุ๋ยหมัก น้ำหมักชีวิภาพ โดยวิทยากรสาธิต การผสมดินปลูกและให้ความรู้ นายนิกร จันทร์งาม ปราชญ์ชาวบ้าน ดำเนินการเมื่อวันที่ ๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๕ ณ ศาลาอเนกประสงค์ หมู่ที่ ๑ ตำบลท่าโพธิ์ ผลการดำเนินงานเป็นดังนี้

๑. ผู้ร่วมโครงการกลับไปต่อยอดความรู้ด้วยการทำปลูกสมุนไพรที่ใช้ป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ ไว้บริโภคเองในครัวเรือน โดยการทำแบบประเมินจากผู้เข้าอบรมจำนวน ๓๑ คน ผู้เข้าอบรมกลับไปทำทานเองจำนวน ๒๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๖๔.๕๒

๒. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ด้านการทำน้ำหมักชีวภาพ การผสมดินปลูก และการทำปุ๋ยหมักเพิ่มมากขึ้น

๓. ผู้เข้าอบรมได้ลงมือปฏิบัติจริง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการมีคะแนนการทำแบบทดสอบความรู้ เปรียบเทียบก่อนและหลังการอบรมเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
0.00 100.00

 

2 เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ผู้เข้าร่วมโครงการกลับไปต่อยอดความรู้ด้วยการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน ร้อยละ 60
0.00 64.52

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30 31
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 30 31
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) (2) เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของประชาชนในการปลูกสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา-๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ไว้บริโภคเองในครัวเรือน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องสมุนไพรที่ใช้ในการป้องกัน/รักษาโควิด-๑๙ พร้อมทั้งสาธิตการทำน้ำสมุนไพรแก้ไอ ฯลฯ (2) ฝึกปฏิบัติการทำปุ๋ยหมักชีวภาพและการปลูกพืชสมุนไพรที่มีฤทธิ์ช่วยต้านโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh