กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง ปี 2561จังหวัดสงขลา

ลงพื้นที่ติดตามกองทุนสุขภาพตำบลอำเภอจะนะ (อบต.แค และ อบต.คู อบต.ขุนตัดหวาย อบต.น้ำขาว อบต.สะพานไม้แก่น )ครั้งที่ 2 เพื่อติดตามความก้าวหน้าในการใช้จ่ายงบประมาณ และการบันทึกข้อมูลในระบบโปรแกรม โดยนายอะหมัด หลีขาหรี 2 มีนาคม 2561
2
มีนาคม 2561รายงานจากพื้นที่ โดย อะหมัด หลีขาหรี
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ทบทวนแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายทบทวนแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย - แบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลแบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล - แบ่งกลุ่มจัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และบันทึกข้อมูลโครงการในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบลแบ่งกลุ่มจัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และบันทึกข้อมูลโครงการในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล -ทบทวนแนวทางการจัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายทบทวนแนวทางการจัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย

กิจกรรมที่ปฎิบัติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาข้อเสนอโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย กลุ่มตำบลคู แค ขุนตัดหวาย น้ำขาว และสะพานไม้แก่น มีผู้เข้าร่วมประชุม จำนวน 12 คน โดยมีกิจกรรม ดังนี้

ทบทวนแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย โดยนายอะหมัด หลีขาหรี เพื่อทำความเข้าใจแนวทางการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายเพิ่มเติม

แบ่งกลุ่มจัดทำแผนสุขภาพชุมชนประเด็นส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และปฏิบัติการบันทึกข้อมูลแผนสุขภาพชุมชนในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล

ทบทวนแนวทางการจัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย แบ่งกลุ่มจัดทำโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย และบันทึกข้อมูลโครงการในเว็บไซต์กองทุนสุขภาพตำบล ดังนี้

1.ตำบลแค พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 3 โครงการ ได้แก่

1.1 โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กเล็กโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

1.2 โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยวิธีเต้นแอโรบิค

1.3 โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

2.ตำบลคู พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 โครงการ ได้แก่

2.1โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิค

3.ตำบลขุนตัดหวาย พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 โครงการ ได้แก่

3.1โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

4.ตำบลน้ำขาว พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 โครงการ ได้แก่

4.1โครงการสุขภาพทางกายดี ชีวี มีสุข ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.น้ำขาว

5.ตำบลสะพานไม้แก่น พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 3 โครงการ ได้แก่

5.1โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

5.2โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลสะพานไม้แก่น โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

5.3โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายคนสามวัย ตำบลสะพานไม้แก่น โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

1.ตำบลแค พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 3 โครงการ ได้แก่

1.1 โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กเล็กโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

1.2 โครงการส่งเสริมสุขภาพการออกกำลังกายด้วยวิธีเต้นแอโรบิค

1.3 โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กวัยเรียนโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

2.ตำบลคู พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 โครงการ ได้แก่

2.1โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายโดยการเต้นแอโรบิค

3.ตำบลขุนตัดหวาย พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 โครงการ ได้แก่

3.1โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

4.ตำบลน้ำขาว พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 1 โครงการ ได้แก่

4.1โครงการสุขภาพทางกายดี ชีวี มีสุข ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.น้ำขาว

5.ตำบลสะพานไม้แก่น พัฒนาโครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกาย จำนวน 3 โครงการ ได้แก่

5.1โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในกลุ่มเด็กก่อนวัยเรียนโดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

5.2โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลสะพานไม้แก่น โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน

5.3โครงการส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายคนสามวัย ตำบลสะพานไม้แก่น โดยใช้การละเล่นพื้นบ้าน