กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานผลการดำเนินโครงการประจำงวด 1

ชื่อโครงการ โครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง ปี 2561 จังหวัดปัตตานี

ชุมชน จังหวัดปัตตานี

รหัสโครงการ 61-FW-94000 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ 2561 ถึง 30 กันยายน 2561

รายงานงวดที่ : 1 จากเดือน กุมภาพันธ์ 2561 ถึงเดือน กุมภาพันธ์ 2561

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินโครงการ (แสดงผลการดำเนินงานรายกิจกรรมที่แสดงผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุม พัฒนา จัดทำแผนการลงเยี่ยมติดตามกองทุนฯของทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัดปัตตานี

วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

พี่เลี้ยงรับทราบแนวทางการปฏิบัติงาน รวมถึงวัตถุประสงค์ และรูปแบบระบบการติดตามประเมินผล มีแผนการออกเยี่ยมที่ชัดเจน และการรายงานผลบนเว้บไซต์

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

รายงานการประชุมทีมพี่เลี้ยงระดับจังหวัด(Coaching team)ตามโครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดปัตตานี ปี 2561 ครั้งที่ 1 วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2561 ณ ห้องประชุมร้านอาหารติสต์ ต.รูสะมีแล อ.เมือง จ.ปัตตานี
ผู้เข้าร่วมประชุม ชื่อ - สกุล ตำแหน่ง เบอร์มือถือ 1.นายรอมซีสาและ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ สสจ.ปัตตานี 0816796499 2.นายการียายือแร ผอ.รพ.สต.ยะรัง 0898790760 3.นายอับดุลกอเดร์การีนา ผอ.กองสาธารณสุขอบต.บานา 0873948919 4.นายมะรอกีเวาะเล็ง ผอ.กองสาธารณสุข ทต.หนองจิก 0819909421 5.นางกัลยาเอี่ยวสกุล ประธานศูนย์ประสานงานหลักประกันฯจ.ปัตตานี 0899752822 6.น.ส.ซาลีนากอเสง จพ.สาธารณสุขชุมชนปฏิบัติการ 0937937171 7.นายอาแวลือโมะ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ สสอ.ยะหริ่ง0897332988 8.นางวรรณาพรบัวสุวรรณ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ รพ.ยะหริ่ง 0898764695 9.นางประภัสสร ขวัญกะโผะ ปลัดอบต.นาเกตุ 0862899147 10.นายอับดุลก้อเดชโต๊ะยะลา หัวหน้าสำนักปลัด อบต.นาประดู่0878361226 11.นายมูฮำหมัดนาเซร์ดอเลาะ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ สสอ.ยะรัง 0862875057 12.นายไพจิตรบุญทอง ปลัดเทศบาลตำบลยะหริ่ง 0818983630 13.นายมูหะหมัด วันสุไลมาน ผอ.กองสาธารณสุข อบต.ดอนรัก 0819574367 14.นายอานัติหวังกุหลำ สมาคมศิษย์เก่าบัณฑิตอาสา มอ. 0818987650 15.นายอัสรีสะนิ สหกรณ์อิสลามอิบนูอัฟฟานจํากัด สาขาสายบุรี 0936461095 ผู้ไม่มาประชุม ติดภารกิจ 1. นายแวอิลยัสอีบุ๊ผอ.รพ.สต.เมาะมาวี 2. นายสราวุฒิวิชิตนันท์ สาธารณสุขอำเภอไม้แก่น 3. นายประสพพรสังข์ทองผอ.รพ.สต.นาเกตุ 4. นางเต็มดวงวงศาปลัดอบต.ดอนทราย
5. นายอับดุลตอเละจะปะกียา ผอ.กองสาธารณสุขอบต.เขาตูม 6. นางสาวอาซีซะกาเรงอบต.บ้านน้ำบ่อ
7. นายอดุลย์มามะ ผอ.กองสาธารณสุขทม.ตะลุบัน 8. นายรอซาลีสะรีเดะ นวก.สาธารณสุขชำนาญการ สสอ.ยะรัง ประธาน นายอับดุลกอเดร์การีนา เริ่มประชุมเวลา11.30 น.
ระเบียบวาระที่ 1 เรื่องประธานแจ้งที่ประชุมทราบ ผลจากการประชุมพัฒนาทีมพี่เลี้ยงระดับเขต 12 สงขลา เมื่อวันที่ 30-31 ตุลาคม 60 (ตามเอกสารประกอบการประชุม)
ระเบียบวาระที่ 2 เรื่องรับรองรายงานการประชุมครั้งที่แล้ว มติที่ประชุม.......รับรอง........... ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเสนอเพื่อทราบ มติที่ประชุม......ไม่มี............ ระเบียบวาระที่ 4 เรื่องเสนอเพื่อพิจารณา 4.1 การจัดการทีมพี่เลี้ยง และการแต่งตั้งปี61 เพื่อให้ทีมพี่เลี้ยงสามารถดำเนินงานบรรลุตามวัตถุประสงค์จึงมีการเสนอให้มีการทบทวนตำแหน่งประธาน, เลขาฯ และคณะทำงาน เนื่องจากทีมพี่เลี้ยงปีที่แล้วมีการปรับ และในปีนี้มีพี่เลี้ยงใหม่สมัครเข้ามาทำงานร่วมกับทีมเก่า
มติที่ประชุม......คุณกัลยา เอี่ยวสกุล เสนอชื่อให้นายอับดุลกอเดร์ การีนา เป็นประธาน, นายรอมซีสาและเป็นเลขาฯ ส่วนสมาชิกท่านอื่นๆที่เหลือทั้งหมดเป็นคณะทำงาน มีการรับรองเสนอชื่อประธาน มติเสียงเป็นเอกฉันท์ให้นายอับดุลกอเดร์การีนา เป็นประธานพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลจังหวัดปัตตานี, ให้นางประภัสสร ขวัญกะโผะ เป็นรองประธาน และให้นายรอมซีสาและเป็นเลขาฯ ส่วนท่านอื่นๆจะเป็นคณะทำงาน............ 4.2 การใช้งานโปรแกรมกองทุนตำบลสำหรับพี่เลี้ยง ได้แก่ การloginใช้งาน การปรับชื่อจริง(เอกสารประกอบการประชุม) การใช้ข้อมูลในโปรแกรมเพื่อกำกับติดตามกองทุนที่รับผิดชอบ การรายงานผลการติดตาม มติที่ประชุม......ขอความร่วมมือพี่เลี้ยงทุกท่านให้login เข้าเว็บไซต์ http://localfund.happynetwork.org เพื่อเริ่มต้น(สำหรับพี่เลี้ยงใหม่) จัดการ ปรับปรุง ตั้งค่าข้อมูลส่วนตัวต่างๆให้เป็นปัจจุบันและสามารถเข้าใช้งานได้ และให้ศึกษาเมนูต่างๆเพื่อใช้ประโยชน์ในการกำกับติดตามกองทุนฯในความรับผิดชอบ รวมทั้งการรายงานผลหลังจากการออกเยี่ยมแล้ว 4.3 การโอนเงินLTC
มติที่ประชุม.....เป้าหมายการดำเนินงาน LTC สำหรับอปท.ปี 59 - 61..ให้ทางเลขาฯประสานกับผู้รับผิดชอบงาน LTC ระดับจังหวัดเพื่อขอข้อมูลกองทุนสุขภาพตำบลของจังหวัดปัตตานีเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ LTC และให้ส่งข้อมูลดังกล่าวผ่านทางกลุ่มไลน์พี่เลี้ยงจังหวัดเพื่อทราบต่อไป 4.4 ชี้แจงทำความเข้าใจในเรื่องงบประมาณตามโครงการสนับสนุนกองทุนสุขภาพตำบลโดยพี่เลี้ยง จังหวัดปัตตานี ปี 2561 ได้รับจัดสรรงบประมาณ 87,600 บาท เพื่อพิจารณา ดังต่อไปนี้ ให้ตัวแทนพี่เลี้ยงระดับจังหวัดปัตตานี จำนวน 1 คน คือนายรอมซีสาและ เลขาฯซึ่งจะต้องไปทำTOR(สัญญาการดำเนินงานระหว่างทีมพี่เลี้ยงกับสปสช.เขต 12 สงขลา)และจะต้องมีการทำประกันวงเงิน, หักภาษีบางส่วน และสปสช.เขต 12 สงขลา จะมีการแบ่งจ่าย ทั้งหมด 3 งวด จะโอนเข้าบัญชีธนาคาร ธกส.สาขาปัตตานี ชื่อบัญชีในนามพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับจังหวัดปัตตานี และวิธีการแบ่งจ่ายใช้งบประมาณดังกล่าว จะแบ่งงบประมาณเป็น 3 ส่วน
ส่วนที่ 1 ค่าบริหารจัดการต่างๆ เช่น รายการหักค่าประกันวงเงิน,ภาษี,หักค่าอาหาร/อาหารว่างเวลานัดคุยประชุมทีม และอื่นๆ ส่วนที่ 2 เป็นค่าตอบแทนพี่เลี้ยง(โดยคำนวณคร่าวๆจากการลงติดตามเยี่ยมกองทุนที่จับคู่รับผิดชอบ) ส่วนที่ 3 ส่วนที่เหลือจะเก็บไว้ใช้งานในกรณีจำเป็นที่ต้องทดรองจ่ายของปีหน้า ปี61 มติที่ประชุม.........เห็นชอบ......... 4.5 แนวทางการทำงานของพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยง ใน 5 อำเภอนำร่อง(อำเภอหนองจิก) มติที่ประชุม.........คุณมะรอกี เวาะเล็ง ได้ให้ข้อมูลเพิ่มเติมในการเป็นพี่เลี้ยงโครงการปัจจัยเสี่ยงในกองทุนสุขภาพตำบลจำนวน 13 แห่ง ในเขตอำเภอหนองจิกถูกเลือกให้เป็นพื้นที่เป้าหมาย ซึ่งได้เรียนให้ท่านนายอำเภอหนองจิกรับทราบเพื่อดำเนินในรูปแบบการบูรณาการร่วมกับDHB ที่ทางอำเภอได้ดำเนินการอยู่ และมีขั้นตอนการดำเนินการคือ -พี่เลี้ยง-คณะกรรมการกองทุน เครือข่ายร่วมจัดทำแผนสุขภาพกองทุนในพื้นที่- งบบริการกองทุน - พี่เลี้ยง-คณะกรรมการกองทุน-ผู้รับทุน - นำเสนอโครงการเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง PA และบูรณาการอาหาร - ถอดบทเรียนผลการทำโครงการ(เวทีกลาง) 4.6 การจับคู่กองทุนกับพี่เลี้ยงปี61(เอกสารประกอบการประชุม) มติที่ประชุม...........ประธานให้ปรับการจับคู่ให้นายรอมซีสาและจับคู่กองทุนที่มีปัญหาปีที่แล้วคือกองทุนฯกระหวะของอำเภอมายอแทน และให้นายมูฮำหมัดนาเซร์ดอเลาะจับคู่แทนของกองทุนฯที่นายรอมซี สาและจับคู่เมื่อปีที่แล้ว นอกเหนือจากนั้นให้เป็นไปตามที่เลขาฯแจ้งให้ทราบตามเอกสารการจับคู่....... 4.7 การออกแบบกิจกรรมโครงการสำหรับพี่เลี้ยงปี61 งบประมาณ 87,600 บาท กิจกรรมปี 61 1. ประชุม พัฒนา ทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับจังหวัดปัตตานี
2. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบล ดังต่อไปนี้ 3. สรุปผลการเยี่ยมติดตามกองทุนของพี่เลี้ยงระดับจังหวัด(Coaching team)
4. ถอดบทเรียนทั้งระบบการใช้พี่เลี้ยงระดับจังหวัด(Coaching team)ต่อการดำเนินงานกองทุนสุขภาพตำบล
มติที่ประชุม........เห็นชอบดำเนินการตามที่เสนอทั้งหมด4 กิจกรรม ... 4.8 การลงเยี่ยมกองทุน ได้แก่ การจัดทีม, วิธีการลงเยี่ยม, การกำหนดวันเดือนปี(ครั้งที่ 1 ระยะเวลาจนถึงธันวาคม 60 จำนวน 1 ครั้ง) มติที่ประชุม......ให้ใช้วิธีการลงเยี่ยมคล้ายๆปีที่ผ่านมาโดยเน้นลงเยี่ยมในภาพรวมอำเภอเป็นหลักและใช้ทีมพี่เลี้ยงอย่างน้อย2-3 คนและพี่เลี้ยงส่งแผนการลงเยี่ยมทางไลน์มาให้เลขาฯเพื่อที่จะบันทึกในโครงการบนเว็บไซต์ต่อไป...........
มติที่ประชุม.........รับทราบและถือปฏิบัติ......... ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องอื่นๆ ไม่มี เลิกประชุม เวลา 14.30 น. ผู้จดรายงานผู้ตรวจสอบ (นายนายรอมซีสาและ) (นายอับดุลกอเดร์การีนา) ตำแหน่ง เลขาฯพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯตำแหน่ง ประธานพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลฯ

 

23 0

2. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลบานาอำเภอเมืองครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลกอเดร์ การีนา

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 28 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 3,477,470 บาท คิดเป็นร้อยละ46.33 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ74.17 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

10 0

3. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลปากล่ออำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome)
1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 657,460 บาท คิดเป็นร้อยละ 62.17 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 81.13 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 8 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

10 0

4. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนทต.โคกโพธิ์(เช้า), โคกโพธฺ์(บ่าย)อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณประภัสสร ขวัญกะโผะ

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) เทศบาลโคกโพธิ์ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 195,300 บาท คิดเป็นร้อยละ 8.4 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 42.72 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) อบต.โคกโพธิ์ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 1 โครงการ(7(4)) งบประมาณ 70,000 บาท2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุนบางส่วน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนเทศบาลโคกโพธิ์ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนอบต.โคกโพธิ์ มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนเทศบาลโคกโพธิ์)

 

10 0

5. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลเกาะเปาะ(เช้า),คอลอตันหยง(บ่าย)อ.หนองจิกครั้งที่ 1 โดยคุณมูหะหมัด วันสุไลมาน

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) เกาะเปาะ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 489,550 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 114.07 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) คอลอตันหยง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 382,600บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 7.81 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนเกาะเปาะ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 8 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนคอลอตันหยง มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนเกาะเปาะ)

 

10 0

6. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนนาเกตุ(เช้า), บางโกระ(บ่าย)อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณประสพพร สังข์ทอง

วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) นาเกตุ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 3 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 316,503 บาท2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 30.85 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) บางโกระ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด306,790 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ75.39 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนนาเกตุ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนบางโกระ มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการกองทุน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนนาเกตุ)

 

10 0

7. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลกะมิยออำเภอเมือง ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลกอเดร์ การีนา

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 10 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 542,910 บาท2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 33.84 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

5 0

8. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลนาประดู่อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 8 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 466,320 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 32.54 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

10 0

9. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลดอนรัก(เช้า),ยาบี(บ่าย)อ.หนองจิกครั้งที่ 1 โดยคุณมูหะหมัด วันสุไลมาน

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ดอนรัก 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 518,250 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 62.67 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ยาบี 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 8 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 640,675 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 37.42 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนดอนรัก มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนยาบี มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนดอนรัก)

 

10 0

10. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนช้างให้ตก(เช้า), ท่าเรือ(บ่าย)อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณประภัสสร ขวัญกะโผะ

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ช้างให้ตก 1.ด้านการบริหาร ยังไม่มีการประชุมกรรมการ แต่มีแผนงานโครงการเสนอเข้ามา 2 โครงการ 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุนยังไม่สมบูรณ์ เช่น ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม
ผลลัพธ์(Outcome) ท่าเรือ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 8 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 278,900 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 74.26 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนช้างให้ตก มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนท่าเรือ มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนช้างให้ตก)

 

15 0

11. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนควนโนรี(เช้า), ทรายขาว(บ่าย)อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณประสพพร สังข์ทอง

วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ควนโนรี 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 13 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 883,505 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 83.62 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ทรายขาว 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 11 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 562,764 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 136.33 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนควนโนรี มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนทรายขาว มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนควนโนรี)

 

10 0

12. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลคลองมานิงอำเภอเมือง ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลกอเดร์ การีนา

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 20 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 1,493,450 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 49.63 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 3 คน ได้แก่
เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

3 0

13. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพเทศบาลตำบลนาประดู่อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 2 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 74,650 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 32.54 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

10 0

14. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลกระหวะ (เช้า), ลางา (บ่าย) อำเภอมายอครั้งที่ 1 โดยคุณรอมซี สาและ

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) กระหวะ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 270,658 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 60.93 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน
ผลลัพธ์(Outcome) ลางา 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 353,041 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 70.18 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนกระหวะ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนลางา มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนกระหวะ)

 

10 0

15. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลจะรัง(เช้า), ตาแกะ(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณวรรณาพร บัวสุวรรณ

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง ผลลัพธ์(Outcome) จะรัง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 149,410.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 46.64 ของงบประมาณทั้งหมด 2. มีการเบิกจ่าย 38,910 บาท  คิดเป็นร้อยละ 12.15 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน แต่ยังไม่บันทึกโครงบริหารจัดการ จึงได้ทำการประสานไปยังผู้รับผิดชอบ ให้ทำการบันทึกด้วย ผลลัพธ์(Outcome) ตาแกะ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 591,804 บาท คิดเป็นร้อยละ 227.66 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่าย 564,884 คิดเป็นร้อยละ 217.3  ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมที่ปฏิบัติ ช่วงเช้า กองทุนจะรัง มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม 1 ครั้งใน มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดการภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 และการดำเนินงานที่ผ่านมา คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนตาแกะ มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมเลขาฯ.และ จนท.รับผิดชอบงาน
มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนจะรัง)

 

10 0

16. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลดาโต๊ะ(เช้า),ตุยง(บ่าย)อำเภอหนองจิกครั้งที่ 1 โดยคุณมะรอกี เวาะเล็ง

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ดาโต๊ะ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 237,981 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุนบางส่วน เช่น ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม
ผลลัพธ์(Outcome) ตุยง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 926,705 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 76.69 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนดาโต๊ะ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนตุยง มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนดาโตะ)

 

10 0

17. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลปูโละปูโย(เช้า),ลิปะสะโง(บ่าย)อ.หนองจิกครั้งที่ 1 โดยคุณมูหะหมัด วันสุไลมาน

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ปุโละปูโย 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 13 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 526,433 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ลิปะสะโง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 8 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 335,300 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 6.92 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนปูโละปูโย มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนลิปะสะโง มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนปุโละปูโย)

 

10 0

18. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนเทศบาลตำบลตันหยง(เช้า), มะนังยง(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณไพจิตร บุญทอง

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง ผลลัพธ์(Outcome) กองทุนเทศบาลตำบลตันหยง
1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีการพัฒนา ศักยภาพกรรมการ มีแผนงานโครงการทั้งหมด
7 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 262,750.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 116.46 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับ 2. มีการเบิกจ่าย 34,500.00 บาท  คิดเป็นร้อยละ 15.29 ของงบประมาณรายรับปี61
3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

ผลลัพธ์(Outcome) มะนังยง 1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 10 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 156,200 บาท คิดเป็นร้อยละ 75.40 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับ 2. มีการเบิกจ่าย 143,800 คิดเป็นร้อยละ 92.06 ของงบประมาณรายรับปี61
3. มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมที่ปฏิบัติ       ช่วงเช้า กองทุนเทศบาลตำบลตันหยง มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม 2 ครั้ง โดยอนุมัติแผนงานในวันที่ 10 เมษายน 2561 มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดการภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 และการดำเนินงานที่ผ่านมา คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์ ซึ่งกรรมการกองทุนได้มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น       ช่วงบ่าย กองทุนมะนังยง  มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม  เลขาฯ.และ จนท.รับผิดชอบงาน
มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนเทศบาลตำบลตันหยง)

 

10 0

19. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลราตาปันยัง(เช้า), ตะโละ(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณอาแว ลือโมะ

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ราตาปันยัง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 492,945 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 38.25 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ตะโละ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด350,260 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 58.54 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

        ช่วงเช้า กองทุนราตาปันยัง มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนตะโละ มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนราตาปันยัง)

 

10 0

20. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนป่าบอน(เช้า), มะกรูด(บ่าย)อำเภอโคกโพธิ์ครั้งที่ 1 โดยคุณประภัสสร ขวัญกะโผะ

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ป่าบอน 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 3 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 74,300 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 17.53 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) มะกรูด 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 604,970.00 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 86.41 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

        ช่วงเช้า กองทุนป่าบอน มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนมะกรูด มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนป่าบอน)

 

10 0

21. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลทุ่งพลาอำเภอโคกโพธิ์ ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลก้อเดช โต๊ะยะลา

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome)
1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 396,005 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 70.87 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

7 0

22. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลสะกำ (เช้า), ลุโบะยีไร (บ่าย) อำเภอมายอครั้งที่ 1 โดยคุณรอมซี สาและ

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) สะกำ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 1 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 18,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 4.65 ของงบประมาณทั้งหมด 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ลุโบะยีไร 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 1 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 102,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 9.22 ของงบประมาณทั้งหมด 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

  ช่วงเช้า กองทุนสะกำ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนลุโบะยีไร มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนสะกำ)

 

10 0

23. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลตาลีอายร์(เช้า), ปิยามุมัง(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณวรรณาพร บัวสุวรรณ

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง ผลลัพธ์(Outcome) ตาลีอายร์ 1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีการพัฒนา ศักยภาพกรรมการ มีแผนงานโครงการทั้งหมด
17 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 258,193.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 101.24 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับ 2. มีการเบิกจ่าย 194,252.03 บาท  คิดเป็นร้อยละ 92.51 ของงบประมาณรายรับปี61
3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน สามารถเป็ตัวอย่างในการดำเนินงานกองทุนได้ ผลลัพธ์(Outcome) ปิยามุมัง 1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 9 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 189,952.60 บาท คิดเป็นร้อยละ 82.35 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับ 2. มีการเบิกจ่าย 13,000.00 คิดเป็นร้อยละ  5.64 ของงบประมาณรายรับปี61
3. มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมที่ปฏิบัติ       ช่วงเช้า กองทุนตาลีอายร์ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม 2 ครั้ง โดยอนุมัติแผนงานในวันที่ 16 มีนาคม 2561 มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดการภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 และการดำเนินงานที่ผ่านมา คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนปิยามุมัง มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม  เลขาฯ.และ จนท.รับผิดชอบงาน
มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนตาลีอายร์) และยังคงต้องติดตามต่อไป เนื่องจากเป็นผู้รับงานใหม่

 

10 0

24. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลท่ากำชำ(เช้า),ทต.บ่อทอง(บ่าย)อำเภอหนองจิกครั้งที่ 1 โดยคุณมะรอกี เวาะเล็ง

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ท่ากำชำ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 357,500.00 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 67.77 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) เทศบาลบ่อทอง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 1 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด51,970 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนท่ากำชำ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนเทศบาลตำบลบ่อทอง มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนท่ากำชำ)

 

10 0

25. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำแหลมโพธิ์(เช้า), ทต.ตอหลัง(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณไพจิตร บุญทอง

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง ผลลัพธ์(Outcome) กองทุนอบต.แหลมโพธิ์ 1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีการพัฒนา ศักยภาพกรรมการ มีแผนงานโครงการทั้งหมด
2. มีการเบิกจ่ายงบประมาณ ไปแล้วร้อยละ 59.20 การใช้จ่ายเงิน 304,870 บาทคิดเป็นร้อยละ49.68 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน สามารถเป็ตัวอย่างในการดำเนินงานกองทุนได้ ผลลัพธ์(Outcome)กองทุนเทศบาลตำบลตอหลัง 1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง 2.มีโครงการในแผนแล้วจำนวน 5 โครงการ เป็นเงิน 98,213 บาทคิดเป็นร้อยละ 49.71 และมีการเบิกจ่ายไปทั้งสิ้น 86,403 บาท ใช้ไปคิดเป็นร้อยละ 87.98 3. มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้ากองทุนตำบลแหลมโพธิ์ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์ พร้อมแนะนำการปิดโครงการของปีงบประมษณ 2560 ช่วงบ่าย กองทุนเทศบลตำบลตอหลัง มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน15 คน ได้แก่ ประธาาน รองประธานกองทุน เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนแหลมโพธิ์) พร้อมแนะนำการปิดโครงการของปีงบประมษณ 2560

 

10 0

26. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลตะโละกาโปร์(เช้า), หนองแรด(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยนายอาแว ลือโมะ

วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ตะโละกาโปร์ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 270,658 บาท คิดเป็นร้อยละ 52.43 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 60.93 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) หนองแรด 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 353,041 บาท คิดเป็นร้อยละ 44.15 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 70.18 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนตะโละกาโปร์ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนหนองแรด มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนตะโละกาโปร์)

 

10 0

27. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลบาราเฮาะ อำเภอเมืองครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลกอเดร์ การีนา

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 270,658 บาท คิดเป็นร้อยละ 52.43 ของงบประมาณทั้งหมด 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 60.93 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 16 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

18 0

28. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง(เช้า), สาบัน(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณวรรณาพร บัวสุวรรณ

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง ผลลัพธ์(Outcome) กองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง
1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 4 ครั้ง มีการพัฒนา ศักยภาพกรรมการ มีแผนงานโครงการทั้งหมด
11 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 350,130.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 80.87 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับ 2. มีการเบิกจ่าย 98,200.00 บาท  คิดเป็นร้อยละ 28.05 ของงบประมาณรายรับปี61
3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

กิจกรรมที่ปฏิบัติ       ช่วงเช้า กองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม 4 ครั้ง โดยอนุมัติแผนงานในวันที่ 18 เมษายน 2561 มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดการภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 และการดำเนินงานที่ผ่านมา คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนสาบันมีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วม  เลขาฯ.และ จนท.รับผิดชอบงาน
มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนเทศบาลตำบลยะหริ่ง)

 

10 0

29. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลบางเขา(เช้า),บางตาวา(บ่าย) อำเภอหนองจิก ครั้งที่ 1 โดยคุณมะรอกี เวาะเล็ง

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) บางเขา 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 5 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 348,720 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 20.64 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) บางตาวา 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 473,640 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนบางเขา มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนบางตาวา มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนบางเขา)

 

10 0

30. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนเทศบาลตำบลบางปู(เช้า), ยามู(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณไพจิตร บุญทอง

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลที่เกิดขึ้นจริง ผลลัพธ์(Outcome) กองทุนเทศบาลตำบลบางปู
1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีการพัฒนา ศักยภาพกรรมการ มีแผนงานโครงการทั้งหมด 15 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด  459,780.00 บาท คิดเป็นร้อยละ 67.55 ของงบประมาณทั้งหมดที่ได้รับ 2. มีการเบิกจ่าย 328,780  บาท  คิดเป็นร้อยละ 71.51 ของงบที่ตั้งจ่าย
3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

ผลลัพธ์(Outcome) กองทุนตำบลยามู 1. ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 2 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 67,900 บาท
2. มีการเบิกจ่าย 43,445 คิดเป็นร้อยละ 32.75 ของงบประมาณรายรับปี 61  ใช้ไปคิดเป็นร้อยละ 63.98 3. มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้ากองทุนเทศบาลตำบลบางปู มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการมีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์ ช่วงบ่าย กองทุนเทศบลตำบลยามู มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน15 คน ได้แก่ ประธาาน รองประธานกองทุน เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนเทศบาลตำบลบางปู)

 

10 0

31. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลตันหยงดาลอ(เช้า), บาโลย(บ่าย)อำเภอยะหริ่งครั้งที่ 1 โดยคุณอาแว ลือโมะ

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ตันหยงดาลอ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 197,205 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 1.49 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) บาโลย 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 3 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 165,900 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 16.58 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนตันหยงดาลอ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนบาโลย มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนตันหยงดาลอ)

 

10 0

32. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนทต.เมืองปัตตานี(เช้า), ปูยุด(บ่าย) อำเภอเมือง ครั้งที่ 1 โดยคุณกัลยา เอี่ยวสกุล

วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ทต.เมืองปัตตานี 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 3 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 18 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 5,183,480 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 150.29 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome)ปูยุด 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 4 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 382,275 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 45.03ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนทต.เมืองปัตตานี มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนปูยุด มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนทต.เมืองปัตตานี)

 

10 0

33. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนทต.หนองจิก อำเภอหนองจิก ครั้งที่ 1 โดยคุณมะรอกี เวาะเล็ง

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome)
1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 7 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 1,380,736บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 32.96 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 15 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์

 

5 0

34. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนป่าไร่(เช้า), ม่วงเตี้ย(บ่าย) อำเภอแม่ลาน ครั้งที่ 1 โดยคุณกัลยา เอี่ยวสกุล

วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ป่าไร่ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 2 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 140,000 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ม่วงเตี้ย 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 1 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 56,000 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนป่าไร่ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนม่วงเตี้ย มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนกระหวะ)

 

10 0

35. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนแม่ลาน อำเภอแม่ลาน ครั้งที่ 1 โดยคุณกัลยา เอี่ยวสกุล

วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 1 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 1 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 6,000 บาท 2.ยังไม่มีการเบิกจ่าย 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์     

 

15 0

36. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลตะลุโบะ(เช้า), ตันหยงลุโละ(บ่าย) อำเภอเมืองครั้งที่ 1 โดยคุณอานัติ หวังกุหลำ

วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ตะลุโบะ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 6 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 350,270 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 39.35 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) ตันหยงลุโละ 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 8 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 503,300 บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 95.12 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนตะลุโบะ มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเอง  และทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
      ช่วงบ่าย กองทุนตันหยงลุโละ มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 2 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนตะลุโบะ)

 

10 0

37. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลปะกาฮารัง(เช้า), ทต.รูสะมีแล(บ่าย) อำเภอเมืองครั้งที่ 1 โดยคุณอานัติ หวังกุหลำ

วันที่ 27 กุมภาพันธ์ 2561 เวลา น.

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่ตั้งไว้

 

ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจริง

ผลลัพธ์(Outcome) ปะกาฮารัง 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 10 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 463,180บาท 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 5.05 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน ผลลัพธ์(Outcome) เทศบาลรูสะมีแล 1.ด้านการบริหาร มีการประชุมกรรมการ 2 ครั้ง มีแผนงานโครงการทั้งหมด 23 โครงการ ใช้งบประมาณทั้งหมด 4,092,147 2.มีการเบิกจ่ายคิดเป็นร้อยละ 145.18 ของงบประมาณรายรับปี61 3.มีการบันทึกข้อมูลกองทุน ได้แก่ ข้อมูลการเงิน ข้อมูลโครงการ/กิจกรรม เป็นปัจจุบัน

กิจกรรมที่กำหนดไว้ในแผน

 

กิจกรรมที่ทำจริง

ช่วงเช้า กองทุนปะกาฮารัง มีกรรมการและเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 5 คน ได้แก่ ประธานกองทุนฯ. เลขาฯ. จนท.รับผิดชอบงาน และกรรมการ มีการติดตามในประเด็น 1.การดำเนินงานกองทุนในด้านบริหารจัดกาภายใต้ความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารกองทุน 2.สถานการณ์เงินคงเหลือของกองทุน ปี 60 ตามโจทย์สำคัญ คือทุกกองทุนสุขภาพตำบลมีแผนการใช้เงินของตนเองและทุกหน่วยงานต้องเข้ามาใช้เงินจากกองทุน เช่น โรงพยาบาลชุมชน, รพ.สต., กลุ่มองค์กรชุมชน, ศูนย์พัฒนาต่างๆในพื้นที่ มีเป้าหมายคือ แผนการใช้เงินดำเนินโครงการให้เงินคงเหลือไม่เกิน 10% ของงบทั้งหมดและการเบิกจ่ายงบประมาณ 3. ติดตามการบันทึกข้อมูลโปรแกรมกองทุนผ่านเว็บไซต์
ช่วงบ่าย กองทุนเทศบาลรูสะมีแล มีเจ้าหน้าที่กองทุนเข้าร่วมประชุมจำนวน 6 คน ได้แก่ เลขาฯ. และจนท.รับผิดชอบงาน มีการติดตามในประเด็น (เหมือนกับกองทุนปะกาฮารัง)

 

10 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น

ส่วนที่ 2 ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการและปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินโครงการ

ประเมินความก้าวหน้าของการดำเนินงานโครงการ

การดำเนินงานเมื่อเทียบกับการดำเนินงานทั้งโครงการทั้งหมดทำแล้ว10%20%30%40%50%60%70%80%90%100%
การทำกิจกรรม 130 0                    
การใช้จ่ายงบประมาณ 135,600.00 0.00                    
คุณภาพกิจกรรม 0                    

ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงานโครงการ (สรุปเป็นข้อ ๆ)

ประเด็นปัญหา/อุปสรรคสาเหตุเพราะแนวทางการแก้ไขของผู้รับทุน

 

 

 

แผนงาน/กิจกรรม ที่จะดำเนินการในงวดต่อไป

  1. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลดอนทราย (เช้า), ตะโละไกรทอง (บ่าย) อำเภอไม้แก่น ครั้งที่ 1 โดยคุณเต็มดวง วงศา ( 6 มี.ค. 2561 )
  2. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนทต.พ่อมิ่ง อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 1 โดยคุณอาซีซะ กาเรง ( 7 มี.ค. 2561 )
  3. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลไทรทอง อำเภอไม้แก่น ครั้งที่ 1 โดยคุณซาลีนา กอเสง ( 13 มี.ค. 2561 )
  4. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลท่าข้าม (เช้า), ท่าน้ำ (บ่าย) อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 1 โดยนายรอมซีสาและ ( 14 มี.ค. 2561 )
  5. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลควน (เช้า), คอกกระบือ (บ่าย) อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 1 โดยคุณอัสรี สะนิ ( 14 มี.ค. 2561 )
  6. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลตะโละแมะนา(เช้า), น้ำดำ(บ่าย)อำเภอทุ่งยางแดง ครั้งที่ 1 โดยคุณมูฮำหมัดนาเซร์ ดอเลาะ ( 14 มี.ค. 2561 )
  7. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลดอน อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 1 โดยคุณอัสรี สะนิ ( 15 มี.ค. 2561 )
  8. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุน,ติดตามกองทุนตำบลปากู(เช้า), พิเทน(บ่าย)อ.ทุ่งยางแดงครั้งที่ 1 โดยคุณมูฮำหมัดนาเซร์ ดอเลาะ ( 15 มี.ค. 2561 )
  9. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลคลองใหม่(เช้า), ปิตูมุดี(บ่าย)อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณแวอิลยัส อีบุ๊ ( 19 มี.ค. 2561 )
  10. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลยะรัง(เช้า), ทต.ยะรัง(บ่าย) อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณการียา ยือแร ( 19 มี.ค. 2561 )
  11. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลตะบิ้ง (เช้า), บางเก่า (บ่าย) อำเภอสายบุรี ครั้งที่ 1 โดยคุณสราวุธ วิชิตนันท์ ( 19 มี.ค. 2561 )
  12. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลกะดุนง (เช้า), ทต.เตราะบอน (บ่าย) อำเภอสายบุรี ครั้งที่ 1 โดยคุณเต็มดวง วงศา ( 20 มี.ค. 2561 )
  13. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลบ้านกลาง (เช้า), บ้านนอก (บ่าย) อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 1 โดยคุณอาซีซะ กาเรง ( 20 มี.ค. 2561 )
  14. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลวัด(เช้า), ประจัน(บ่าย) อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณแวอิลยัสอีบุ๊ ( 20 มี.ค. 2561 )
  15. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลสะดาวา(เช้า), สะนอ(บ่าย) อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณการียา ยือแร ( 20 มี.ค. 2561 )
  16. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลปะเสยาวอ (เช้า), แป้น (บ่าย) อำเภอสายบุรี ครั้งที่ 1 โดยคุณสราวุธ วิชิตนันท์ ( 20 มี.ค. 2561 )
  17. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลละหาร (เช้า), มะนังดาลำ (บ่าย) อำเภอสายบุรี ครั้งที่ 1 โดยคุณเต็มดวง วงศา ( 21 มี.ค. 2561 )
  18. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลบ้านน้ำบ่อ (เช้า), ทต.ปะนาเระ (บ่าย) อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 1 โดยคุณอาซีซะ กาเรง ( 21 มี.ค. 2561 )
  19. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลเมาะมาวี อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณแวอิลยัสอีบุ๊ ( 21 มี.ค. 2561 )
  20. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลระแว้ง อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณการียา ยือแร ( 21 มี.ค. 2561 )
  21. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลบือเระ อำเภอสายบุรี ครั้งที่ 1 โดยคุณสราวุธ วิชิตนันท์ ( 21 มี.ค. 2561 )
  22. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลกระโด(เช้า), กอลำ(บ่าย)อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลตอเละ จะปะกียา ( 26 มี.ค. 2561 )
  23. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลตอเละ จะปะกียา ( 27 มี.ค. 2561 )
  24. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพทต.มายอ อำเภอมายอ ครั้งที่ 1 โดยคุณรอซาลี สะรีเดะ ( 27 มี.ค. 2561 )
  25. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลถนน (เช้า), สาคอบน (บ่าย) อำเภอมายอ ครั้งที่ 1 โดยคุณอับดุลตอเละ จะปะกียา ( 28 มี.ค. 2561 )
  26. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลกระเสาะ(เช้า), เกาะจัน(บ่าย) อำเภอมายอ ครั้งที่ 1 โดยคุณรอซาลี สะรีเดะ ( 28 มี.ค. 2561 )
  27. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนทต.ตะลุบัน (เช้า) อำเภอสายบุรี,กะรุบี (บ่าย)อำเภอกะพ้อ ครั้งที่ 1 โดยคุณอดุลย์ มามะ ( 28 มี.ค. 2561 )
  28. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนสุขภาพตำบลตรัง(เช้า), ปะโด(บ่าย) อำเภอมายอ ครั้งที่ 1 โดยคุณรอซาลี สะรีเดะ ( 29 มี.ค. 2561 )
  29. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลตะโละดือรามัน (เช้า),ปล่องหอย (บ่าย)อำเภอกะพ้อ ครั้งที่ 1 โดยคุณอดุลย์ มามะ ( 29 มี.ค. 2561 )
  30. ประชุม พัฒนา สรุปผลการเยี่ยมครั้งที่ 1 ของทีมพี่เลี้ยงกองทุนสุขภาพตำบลระดับจังหวัดปัตตานี ( 18 เม.ย. 2561 )
  31. พี่เลี้ยงลงเยี่ยมสนับสนุนและติดตามกองทุนตำบลบ้านน้ำบ่อ (เช้า), ทต.ปะนาเระ (บ่าย) อำเภอปะนาเระ ครั้งที่ 2 โดยคุณอาซีซะ กาเรง ( 15 พ.ค. 2561 )

(................................)
นายรอมซี สาเละ ทีมพี่เลี้ยงจังหวัดปัตตานี
ผู้รับผิดชอบโครงการ