กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยในตำบลนาประดู่ ได้ทำหนังสือเชืญไปยังกลุ่มเป้าหมาย และได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเกตุมาให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และประชาขนในตำบลนาประดู่ จำนวน 100 คน ผลการดำเนินโครงการพบว่าประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย และตระหนักในการดูแลสุขภาพ ร้อยละ 95 ประชาชนสามารถนำสมุนไพรมาแปรรูปสร้างผลิตภัณฑ์ไว้ใช้เองได้ รวมทั้งทำให้เครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่ววนร่วมในการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและตระหนักในการดูแลสุขภาพร้อยละ 80
ตัวชี้วัด : 1. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและตระหนักในการดูแลสุขภาพร้อยละ 80
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนสามารถนำสมุนไพรมาแปรรูปสร้างผลิตภัณฑ์ไว้ใช้เองได้
ตัวชี้วัด : เพื่อให้ประชาชนสามารถนำสมุนไพรมาแปรรูปสร้างผลิตภัณฑ์ไว้ใช้เองได้
100.00 100.00

 

3 เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริม สร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ตัวชี้วัด : เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริม สร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
100.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการสร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและตระหนักในการดูแลสุขภาพร้อยละ 80 (2) เพื่อให้ประชาชนสามารถนำสมุนไพรมาแปรรูปสร้างผลิตภัณฑ์ไว้ใช้เองได้ (3) เพื่อให้เครือข่ายในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริม สร้างเสริมสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมโครงการแก่เครือข่ายอาสามสัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) (2) อบรมโครงการแก่ประชาชนผู้เข้าร่วมโครงการ

ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน

  1. ขั้นตอนในการจัดทำอนุมัติโครงการหลายขั้นตอนยุ่งยาก ทำให้โครงการดำเนินการช้าและประกอบกับผู้เสนอโครงการมีประสบการณ์น้อยในการจัดทำจัดซื้อจัดจ้าง

  2. อุปกรณ์ในการทำน้ำมันไพลไม่เพียงพอต่อจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ ทำให้ใช้เวลานานในการทำผลิตภัณฑ์น้ำมันไพล

แนวทางแก้ไขปัญหา

ผู้จัดทำโครงการเรียนรู้ขั้นตอนในการทำอนุมัติโครงการเพื่อให้สามารถดำเนินโครงการตามแผน และวางแผนการดำเนินโครงการในครอบคลุม

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh