กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยเรื้อรังแบบบูรณาการ (Home Visit & Home Health Care)เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อน รพ.สต.บ้านห้วยเรือ ตำบลหารเทา อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง ประจำปี 2565

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลต่อเนื่อง มากกว่าร้อยละ 90
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : - ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 40 - ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
0.00

 

3 เพื่อป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : - อัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงลดลงจากปีที่ผ่าน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 329
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 329
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ป่วยได้รับการดูแลต่อเนื่อง (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์ (3) เพื่อป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนต่างๆในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจข้อมูล ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในพื้นที่ และมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน (2) ให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้ป่วยและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง แก่อาสาสมัครสาธารณสุข (3) จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ในการเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย แก่จิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน ทุกหมู่บ้าน (4) กิจกรรมเยี่ยมติดตาม เฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (5) ส่งต่อผู้ป่วยที่ควบคุมระดับเบาหวาน และความดันโลหิตไม่ได้ ตามระบบการส่งต่อ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh