กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสร้างความตระหนัก ในการทำลาย แหล่งเพาะพันธ์ยุงลายในชุมชน (2) เพื่อให้คณะทำงาน(คนพ่นหมอกควันในพื้นที่) มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องในการพ่นหมอกควันควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อป้องกันและควบคุมการระบาดของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลเขาปูน เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์ (4) เพื่อประชาสัมพันธ์และให้ความรู้ประชาชน สร้างตระหนักในการป้องกันและเฝ้าระวังโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง ปีงบประมาณ 2565 (2) กิจกรรมเชิงรุกเพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำโรคและเพื่อการหยุดระบาดของโรคไข้เลือดออก/กิจกรรมเชิงรุกในครัวเรือน/บุคคลที่มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก โดยการทำลายพาหะของโรคโดยทันที /กิจกรรมการพ่นหมอกควันโดยอสม.หรือผู้นำชุมชน (3) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย/กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย การเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคโดยสำรวจค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย เพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ โดยอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ เนื่องจากในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไม่มีรายงานผู้ป่วยยืนยันด้วยโรคไข้เลือดออก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงไม่ได้ดำเนินการบางส่วนในกิจกรรมเชิงรุกในชุมชน การพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ประชาชนประมาณร้อยละ 80 ยังเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายว่าเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แหล่งน้ำเน่าเสียในหมู่บ้าน ในท่อระบายน้ำ น้ำในคูคลอง ซึ่งแหล่งน้ำเหล่านี้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงรำคาญซึ่งไม่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน เพื่อเตรียมพร้อมและเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดระบาดรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

เนื่องจากในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ไม่มีรายงานผู้ป่วยยืนยันด้วยโรคไข้เลือดออก ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูน จึงไม่ได้ดำเนินการบางส่วนในกิจกรรมเชิงรุกในชุมชน การพ่นหมอกควัน เพื่อทำลายยุงตัวแก่ที่เป็นพาหะนำของโรคไข้เลือดออก และจากการดำเนินงานที่ผ่านมา ประชาชนประมาณร้อยละ 80 ยังเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายว่าเป็นแหล่งน้ำธรรมชาติ เช่น แหล่งน้ำเน่าเสียในหมู่บ้าน ในท่อระบายน้ำ น้ำในคูคลอง ซึ่งแหล่งน้ำเหล่านี้ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงรำคาญซึ่งไม่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลเขาปูนจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลเขาปูน เพื่อเตรียมพร้อมและเพื่อลดภาวะเสี่ยงต่อการเกิดระบาดรุนแรงของโรคไข้เลือดออกในตำบลเขาปูน

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ