กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ตำบลสนามชัย อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา ปี 2565

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลสนามชัยลดลงเมื่่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง 5 ปี/เมื่อเทียบกับปีก่อน
ตัวชี้วัด : -อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือกออกลดลงร้อยละ 30 ของ ค่ามัธยฐานย้อนหลัง 5 ปี
0.00

 

2 2.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน
ตัวชี้วัด : -สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทุกหมู่บ้านและไม่มีผู้ป่วยเกิดขึ้นหลังจากโณคไข้เลือดออกรายแรกก่อนหน้านี้แล้ว 28 วัน
0.00

 

3 3.เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน
ตัวชี้วัด : -ค่า HI CI ในชุมชน โรงเรียนและสถานที่ราชการไม่เกินมาตรฐาน
0.00

 

4 4..เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : หน่วยในชุมชน เช่น วัด โรงเรียน ศพด. อบต. และประชาชนป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ ร้อยละ 100
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อให้อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในพื้นที่ตำบลสนามชัยลดลงเมื่่อเทียบกับค่า MEDIAN ย้อนหลัง 5 ปี/เมื่อเทียบกับปีก่อน (2) 2.เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของการรณรงค์กำจัดลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน (3) 3.เพื่อลดความชุกชุมของลูกน้ำยุงลายในสถานที่สาธารณะและในชุมชน (4) 4..เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง องค์กร ชุมชน และประชาชนทั่วไปมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.อสม. สำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายทั้งในชุมชนและสถานที่สาธารณะ 4 ครั้ง/เดือน และ อสม.ส่งรายงานผลการสำรวจทุกเดือนโดยใช้แบบสำรวจลูกน้ำยุงลาย (2) ควบคุมโรคขณะเกิดโรคไข้เลือดออก (3) ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์ป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh