กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดหลอดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวนเป้าหมาย 1,750 คน
ตัวชี้วัด : 1.ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 90
0.00

 

2 2.เพื่อให้ผู้สงสัยที่จะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ที่สงสัยป่วยได้รับการส่งต่อ ร้อยละ 100
0.00

 

3 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตาม เป้าหมาย 100 คน
ตัวชี้วัด : 1.ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตามจำนวน 3 ครั้ง ร้อย 95
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1750
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,750
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อคัดกรองภาวะเสี่ยงโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดหลอดสมองและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป จำนวนเป้าหมาย 1,750 คน (2) 2.เพื่อให้ผู้สงสัยที่จะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อ (3) 3.เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวานได้รับการติดตาม เป้าหมาย 100 คน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) สำรวจกลุ่มเป้าหมาย จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติ (2) ประชุมชี้แจ้งผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการ (3) จัดทำแผนการออกปฏิบัติงานเชิงรุกในการดำเนินการคัดกรองโณคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือดสมอง ประเมินดัชนีมีมวลกายและภาวะอ้วนลงพุง ในประชากรอายุ 35 ปี ขึ้นไป ในเขตที่รับผิดชอบ (4) แต่งตั้งทีมตรวจสุขภาพออกให้บริการคัดกรองโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านและผู้นำมีส่วนร่วม (5) ออกให้บริการตรวจคัดกรองร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุข พร้อมให้ความรู้ (6) ประเมินภาวะเสี่ยงต่อสุขภาพ แจ้งผลการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยง พร้อมแนะนำ ให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพแนะนำการตรวจคัดกรองซ้ำ และลงทะเบียนกลุ่มเสี่ยง (7) ติดตามปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (8) นัดหมายให้บริการแก่กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย อ้วนลงพุงในคลินิก DPAC (9) ติดตามประเมินสุขภาพซ้ำในกลุ่มเสี่ยง หลังได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เมื่อครบ 6 เดือน (10) ประเมินผลโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh