กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการชาวหนองแรตร่วมใจรงณรงค์คัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ปี 2565

4. ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน 3 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอวและประเ1 เมษายน 2565
1
เมษายน 2565รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต.หนองแรต
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

ติดตามกลุ่มเสี่ยงหลังจากเข้าร่วมประชุมเชิงปฏิบัติการโดยอาสาสมัครประจำหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ประจำโรงพาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเป็นจำนวน  3  ครั้ง  ห่างกัน  1  เดือน  โดยการตรวจระดับน้ำตาลในเลือด  วัดความดันโลหิต ชั่งน้ำหนัก  วัดส่วนสูง  วัดรอบเอวและประเมินดัชนีมวลกายพร้อมคืนข้อมูลผลการตรวจซ้ำให้กับกลุ่มเป้าหมายรับทราบภาวะสุขภาพของตนเองเป็นรายบุคคล จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมดจำนวน .....60........คน

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

-ค่าความดันหลังครบติดตาม 3 ครั้ง ของกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานหลังเข้าอบรมโครงการ พบค่าความดันอยู่ในกลุ่มเสี่ยงเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 53.33 รองลงมาค่าความดันอยู่ในเกณฑ์ปกติลดลง คิดเป็นร้อยละ 46.67 และไม่พบกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานค่าความดันอยู่ในเกณฑ์เสี่ยงสูงกับสงสัยป่วย -ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงเบาหวานหลังครบการติดตาม 3 ครั้ง พบว่า กลุ่มเสี่ยงเบาหวานมีค่าดัชนีมวลกาย (BMI) ดีขึ้น ค่าดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในเกณฑ์ ปกติ มากสุด คิดเป็นร้อยละ 46.67 รองลงมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกิน คิดเป็นร้อยละ 36.67  ต่อมาค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์ อ้วน คิดเป็นร้อยละ 13.33 และค่าดัชนีมวลกาย (BMI)อยู่ในเกณฑ์น้อยที่สุด ผอม
คิดเป็นร้อยละ 3.33
-ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ปกติ หลังเข้าร่วมโครงการ ดีขึ้น จำนวน 25 คน
คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) มีภาวะเสี่ยง หลังเข้าร่วมโครงการ ลดลง จำนวน 5 คน
คิดเป็นร้อยละ 83.33 - ผลค่าน้ำตาลในเลือดที่ปลายนิ้ว (DTX) ไม่พบมีสงสัยเบาหวาน หลังเข้าร่วมโครงการ -ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการ ดังนี้ - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 9 คน
คิดเป็นร้อยละ 30 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยง ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 17 คน
คิดเป็นร้อยละ 56.67 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ เสี่ยงสูง ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 3 คน
คิดเป็นร้อยละ 10 - ผลค่าความดันกลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ระดับ สงสัยป่วย ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ จำนวน 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 10 เพื่อส่งต่อพบแพทย์เพื่อให้ได้รับการวินิจฉัยที่ถูกต้อง -ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูง ดีขึ้น ก่อนเข้าร่วมโครงการดังนี้ - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ผอม เท่าเดิม หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 16.67 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ ปกติ ดีขึ้น หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 33.33 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ น้ำหนักเกินเกณฑ์ ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 40 - ผลค่าดัชนีมวลกาย (BMI) กลุ่มเสี่ยงโรคความดันสูงอยู่ในเกณฑ์ อ้วน ลดลง หลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวน 3  คน คิดเป็นร้อยละ 10