กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดไม่เกินร้อยละ 10
1.00

 

2 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ไม่มาฝากครรภ์ตามนัด ได้รับการติดตามร้อยละ 100
1.00

 

3 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้
ตัวชี้วัด : 3.อัตราตายของมารดา
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน (2) 2.เพื่อลดอัตราความเสี่ยงจากภาวะแทรกซ้อนที่อันตรายต่อมารดาและทารกทั้งขณะตั้งครรภ์และหลังคลอดเพื่อลูกเกิดรอดแม่ปลอดภัย (3) 3.เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้มีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง และสร้างความตระหนักเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์และสามารถดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ตลอดจนการดูแลตนเองหลังคลอดได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 จัดเวทีประชาคมสำหรับแกนนำสุขภาพ ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา เครือข่ายท้องถิ่น เกี่ยวกับการปัญหาสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์พื้นที่ตำบลกรงปินัง เพื่อสร้างความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง การติดตามหญิงตั้งครรภ์ไม่มาฝากครรภ์ตามนัด (2) กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำสุขภาพ ผดุงครรภ์โบราณ FR อสม.ในการดูแลและส่งต่อหญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด จำนวน 25 คน (3) กิจกรรมที่ 3 จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล มารดาหลังคลอดและแกนนำสุขภาพ จำนวน 40 คน (4) กิจกรรมที่ 4 ประชาสัมพันธ์เรื่องการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ การตั้งครรภ์เมื่อพร้อม และการฝากครรภ์คุณภาพ ดูแลและส่งต่อในกรณีเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาล (5) จัดเวที่ประชาคมเพื่อสร้างความตระหนักร่วมกันแก้ไขปัญหาของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง (6) จัดอบรมเตรียมความพร้อมให้กับแกนนำสุขภาพ ผดุงครรภ์โบราณ FR (7) จัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และผู้ดูแล มารดาหลังคลอด (8) ประชาสัมพันธ์เรื่องการดูแลสุขภาพหญิงวัยเจริญพันธ์ การตั้งครรภ์เมื่อพร้อม และการฝากครรภ์คุณภาพ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh