กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 หญิงตั้งครรภ์และสามี /ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครั้งแรกก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ร้อยละ 60 -หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้ง ตามเกณฑ์ ร้อยละ 90
60.00 80.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อได้ทันท่วงที และได้รับการดูแลจากแพทย์อย่างต่อเนื่อง ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

3 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนมารดาหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : -ร้อยละของเด็กตั้งแต่ทารกแรกเกิดจนถึงอายุต่ำกว่า 6 เดือน มีค่าเฉลี่ยกินนมแม่อย่างเดียว ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50
50.00 60.00

 

4 เพื่อสร้างแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้
ตัวชี้วัด : เกิดแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 216
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 116
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) หญิงตั้งครรภ์และสามี /ญาติ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวขณะตั้งครรภ์ สามารถนำความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในการดูแลตนเองและลูกน้อยในครรภ์ได้อย่างมีคุณภาพ (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่อาจเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์ (3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนมารดาหลังคลอด เลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (4) เพื่อสร้างแกนนำ ภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์ และสามารถติดตาม ค้นหาหญิงตั้งครรภ์/กลุ่มเสี่ยงในชุมชนได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมพัฒนาทักษะ แกนนำอสม./ภาคีเครือข่าย เพื่อดูแลหญิงตั้งครรภ์ในชุมช (2) อบรมให้ความรู้ กิจกรรมโรงเรียนพ่อ แม่ (หลักสูตร 1 หลักสูตร 2 ) ในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์และสามี / ญาติผู้ดูแล และการตรวจคัดกรองทารกกลุ่ม อาการดาวน์ซินโดร (3) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ และประกวดคุณแม่ต้นแบบด้านการดูแลตนเองและลูกน้อย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh