กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประเมินคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการฝึกอบรม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพเบื้องต้น
100.00

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ “และเข้าถึงสิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่างๆ ของผู้สูงอายุ ตาม พรบ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจ และเข้าถึงสิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่างๆ ของผู้สูงอายุมากยิ่งขึ้น
80.00

 

3 เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุในตำบลมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และคุณภาพมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในตำบลบ่อหินมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น มีความเป็นอยู่ที่ดี และมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่ดี
80.00

 

4 เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ สามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุสามารถดูและรักษาสุขภาพตนเองเบื้องต้น และมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่แข็งแรง และสามารถใช้ชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีคุณค่าและมีความสุข
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 130
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประเมินคัดกรองสุขภาพเบื้องต้นของผู้สูงอายุที่เข้าร่วมการฝึกอบรม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจ “และเข้าถึงสิทธิประโยชน์และสวัสดิการต่างๆ ของผู้สูงอายุ ตาม พรบ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และระเบียบต่างๆที่เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ (3) เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้สูงอายุในตำบลมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง และคุณภาพมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (4) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้ตระหนักถึงความสำคัญของการดูแลสุขภาพตนเอง ทั้งด้านร่างกาย และจิตใจ สามารถดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) วางแผนการดำเนินโครงการร่วมกับแกนนำชมรมผู้สูงอายุ อาสาสมัครสาธารสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) และผู้นำชุมชนในพื้นที่ (2) จัดโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ “สูงวัยอย่างมีคุณภาพ สุขภาพกาย สุขภาพใจ แข็งแรง” ประจำปี2565

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh