กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย อยู่ในระดับดี จำนวน 126 จากนักเรียนทั้งหมด 133 คน คิดเป้นร้อยละ 97.74

  2. โรงเรียนเกิดชมรม อย.น้อย ดรงเรียนละ 1 ชมรม (ซึ่งอยู่ในช่วงดำเนินการของโรงเรียน)คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของนักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
133.00

นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย อยู่ในระดับดี จำนวน 126 จากนักเรียนทั้งหมด 133 คน คิดเป้นร้อยละ 97.74

2 เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติการจริง สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้
ตัวชี้วัด : -
0.00

 

3 เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้มีชมรม อย.น้อย ในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : เกิดชมรม อย.น้อย ในโรงเรียน 1ชมรม
133.00

โรงเรียนเกิดชมรม อย.น้อย โรงเรียนละ 1 ชมรม (ซึ่งอยู่ในช่วงดำเนินการของโรงเรียน)คิดเป็นร้อยละ 100

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้อง ปลอดภัย

(2) เพื่อให้นักเรียนได้เรียนรู้จากการปฏิบัติการจริง สามารถเผยแพร่ความรู้ที่ได้รับไปยังเพื่อนนักเรียน ครอบครัว และชุมชนได้

(3) เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้มีชมรม อย.น้อย ในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

  1. นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพ และสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภคได้อย่างถูกต้องปลอดภัย อยู่ในระดับดี จำนวน 126 จากนักเรียนทั้งหมด 133 คน คิดเป้นร้อยละ 97.74

  2. โรงเรียนเกิดชมรม อย.น้อย โรงเรียนละ 1 ชมรม (ซึ่งอยู่ในช่วงดำเนินการของโรงเรียน)คิดเป็นร้อยละ 100

ปัญหา/อุปสรรค

  1. มีนักเรียนให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมโครงการเกินเป้าหมายที่วางไว้ ทำให้เอกสารความรู้ไม่พอกับจำนวนนักเรียน

แนวทางการแก้ไข

  1. ให้นักเรียนทุกคนสนใจ เข้าร่วมกิจกรรมโครงการโดยให้ดูเอกสารความรู้ร่วมกับเพื่อน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh