กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินด้วยขั้นตอน HIA

บทคัดย่อ/บทนำ

บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

(1) เพื่อสนับสุนน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน

(2) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

(3) เพื่อสนับสนุน ส่งเสริมให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กเกิดทักษะในการตรวจ และทำความสะอาดช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียนอย่างถูกวิธี

(4) เพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญ มีสุขภาพช่องปากและโภชนาที่ดีเหมาะสมตามวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ

การดำเนินงานตามโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 มีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนส่งเสริมความให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็ก ตระหนักถึงการดูแลสุขภาพช่องปากในเด็กก่อนวัยเรียน ได้รับความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปากและโภชนาการการที่เหมาะสมสำหรับเด้กก่อนวัยเรียน เกิดทักษะในการตรวจและทำความสะอาดช่องปากอย่างถูกวิธีสำหรับเด้กแต่ละช่วงวัย รวมถึงเพื่อให้เด็กก่อนวัยเรียนในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญมีสุขภาพช่องปากและโภชนาการที่ดีเหมาะสมตามวัย ในภาพรวมทั้ง 5 ศูนย์ พบว่าการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฎิบัติการ "รอยยิ้มสดใส เด็กอุใดฟันดี ปี 5" ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 ผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการฯ ในภาพรวมร้อยละ 100.97 หากจำแนกเป็นศูนย์ พบว่า แต่ละศูนย์มีผู้ปกครองให้ความสนใจเข้าร่วมโครงการฯ มากกว่าร้อยละ 80 และเป็นที่น่ายินดีว่าศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดใต้และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดอุใดเหนือ มีจำนวนผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการฯ เกินกว่าร้อยละ 100

ข้อเสนอแนะ ไม่มี

ปัญหา/อุปสรรค / มี

สถานที่ในการฝึกอบรมไม่สะดวกเนื่องจากพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครองได้ ทำให้ช่วงบรรยายเด้กก็จะส่งเสียงรบกวนการบรรบายและสถานที่สำหรับทำกิจกรรมแปรงฟันยังไม่เพียงพอ

แนวทางแก้ไข

สำหรับปัญหาสถานที่คับแคบ สถานที่แปรงฟันของเด็กไม่เพียงพอนั้น เป็นข้อจำกัดที่องค์การบริหารส่วนตำบลอุใดเจริญเล็งเห็นถึงความสำคัญ และได้ดำเนินการแก้ไขโดยการดำเนินการจัดทำโครงการในการก่อสร้างต่อเติมอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พร้อมห้องน้ำห้องส้วม สถานที่แปรงฟัน และอื่นๆให้เป็นไปตามมาตราฐานและคาดว่าจะดำเนินกิจกรรมรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล้กเข้าด้วยกัน เพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้ดำเนินการแก้ไขไปแล้วในเดือน กันยายน 2559 โดยรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านผัง 2 และศูนย์พัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนนิคมพัฒนาภาคใต้ 2 เป็นศูนย์เดียวกัน เรียกชื่อใหม่ว่า ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลอุใดเจริญ ในการนี้ การดำเนินการรวมศูนย์พัฒนาเด็กเล็กต้องผ่านขั้นตอนการประชุมประชาคมและขั้นตอนอื่นๆตามลำดับต่อไป

คำสำคัญ

 

บทนำ

 

หมายเหตุ
  • บทคัดย่อ/บทนำ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

แบบประเมิน HIA

1. การกลั่นกรองโครงการ

 

1.1 วัตถุประสงค์

1) เพื่อให้ทราบผลและบอกถึงงานที่รับผิดชอบ
2) เพื่อให้เห็นแนวโน้ม เพื่อเตือนภัย
3) เพื่อเปลี่ยนพฤติกรรม และเข้าใจกระบวนการ
4) เพื่อลำดับความสำคัญ แปลง ปรับกลยุทธ์ สู่การปฎิบัติ
5) เพื่อเป็นเครื่องมือในการจัดการ ช่วยการควบคุม
6) เพื่อจัดสรรทรัพยากร
7) เพื่อการเรียนรู้ และรู้ขีดความสามารถ
8) เพื่อเปรียบเทียบ ปรับปรุงและพัฒนา
9) เพื่อช่วยเปลี่ยนวัฒนธรรมองค์กร
10) เพื่อให้รางวัล เพื่อจูงใจ
11) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.2 วิธีการ (ระบุรายละเอียดทำอะไร กับใคร กี่คน ผลสรุป)

1) ประชุมทีมประเมิน

 

2) ประชุมร่วมกับโครงการ

 

3) ประชุมร่วมกับโครงการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

 

4) อื่นๆ (ระบุรายละเอียด)

 

1.3 เครื่องมือ

1) เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง (ระบุรายละเอียดเครื่องมือ เช่น แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม)

 

1.4 ผลที่ได้

1) ผลที่ได้ในขั้นตอนการกลั่นกรอง

 

2. การกำหนดขอบเขต

 

1) วิธีการในการกำหนดขอบเขต

 

2) ผู้เข้าร่วมกำหนดขอบเขต

 

3) เครื่องมือที่ใช้

 

4) กรอบแนวคิด

1) ใช้กรอบ Ottawa charter
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
2) ใช้กรอบ ปัจจัยกำหนดสุขภาพ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
3) ใช้กรอบ Balance Score Card
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
4) ใช้กรอบ CIPP
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
5) อื่นๆ
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดเครื่องมือกลุ่มผู้ให้ข้อมูล

3. ลงมือประเมิน

 

1) กระบวนการเก็บข้อมูลโดยการมีส่วนร่วม (ระบุรายละเอียด)

 

2) กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูล (ระบุรายละเอียด)

 

3) ผู้มีส่วนร่วมในการประเมิน (ระบุรายละเอียด)

 

4) ผลการประเมิน (เรียงตามตัวชี้วัดที่กำหนดในขั้นตอน scoping)
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

4. ทบทวนรายงานการประเมินว่าถูกต้องหรือไม่?

 

1) กระบวนการในการทบทวนรายงาน

 

2) ผู้มีส่วนร่วมในการทบทวนรายงาน

 

3) ผลการทบทวนร่างรายงาน

 

4) สรุปผลการประเมินสำคัญที่นำเข้าเวทีการทบทวน
ประเด็นการประเมินตัวชี้วัดสรุปผลการประเมินหมายเหตุ
5) อื่นๆ

 

5. การปรับปรุงทบทวนโครงการ

 

1) ข้อเสนอเพื่อการทบทวนโครงการ

 

2) อื่นๆ

 

6. ได้มีการปรับปรุงทบทวนโครงการตามข้อ 5 หรือไม่?

 

1) กลไกในการติดตามการปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

2) วิธีการติดตาม การปรับปรุงโครงการตามข้อเสนอแนะ

 

3) อื่นๆ

 

สรุป

อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

สถานที่ในการฝึกอบรมไม่สะดวกเนื่องจากพื้นที่ศูนย์พัฒนาเด็กบางแห่งคับแคบไม่สามารถแยกเด็กและผู้ปกครองได้ ทำให้ช่วงบรรยายเด้กก็จะส่งเสียงรบกวนการบรรบายและสถานที่สำหรับทำกิจกรรมแปรงฟันยังไม่เพียงพอ

เอกสารอ้างอิง

 

เอกสารประกอบโครงการ