กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายอับดุลอาซิส ซามัน

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2565-L7161-2-38 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 23 กันยายน 2565 ถึง 31 ธันวาคม 2565


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2565-L7161-2-38 ระยะเวลาการดำเนินงาน 23 กันยายน 2565 - 31 ธันวาคม 2565 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 73,820.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพปัจจุบันปัญหาสังคมไทยปัญหาในชุมชนคือ ปัญหายาเสพติดได้แพร่ระบาดอย่างรวดเร็วเด็กและเยาวชนในวัยเรียนซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการพัฒนาชาติในอนาคตมีความสุ่มเสี่ยงสูงที่จะติดยาเสพติดโดยเฉพาะในเยาวชน ซึ่งเป็นช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อล่อแหลมอยากรู้อยากลองขาดความยั้งคิดติดเพื่อนมีปัญหาในครอบครัว รู้เท่าไม่ถึงการณ์ขาดการชี้แนะให้รู้ถึงพิษภัยยาเสพติดความเจริญเติบโตด้านเศรษฐกิจสังคมตลอดจนวัฒนธรรมประเพณีและค่านิยมต่างชาติได้หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศไทยสิ่งเหล่านี้ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการดำรงชีวิต เนื่องจากปัญหายาเสพติดในเยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของปัญหาและได้รับผลกระทบโดยตรง ดังนั้นการให้เยาวชนเข้ามามีส่วนร่วมรับรู้ และ มีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จะเป็นแนวทางให้เกิดการยอมรับและยึดถือปฏิบัติอีกทั้งเป็นแนวร่วมในการดำเนินงานง่ายต่อการขยายผลไปสู่เยาวชนในสถานศึกษาทุกคนกิจกรรมที่เยาวชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ได้แก่ การจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันยาเสพติดต่างๆ การจัดกิจกรรมส่งเสริมการออกกำลังกายเป็นกิจกรรมที่ดี จำเป็นต่อสุขภาพ กิจกรรมการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอสำคัญอย่างยิ่งที่จะส่งเสริมให้คนมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม ก่อให้เกิดพลานามัยที่แข็งแรงสมบูรณ์ รู้จักทำงานร่วมกันเป็นทีม ปลูกฝังความสามัคคีของผู้ร่วมกิจกรรม สร้างให้เป็นผู้มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และเคารพในกฎ ระเบียบ กติกา การแข่งขันสามารถนำทักษะที่เกิดขึ้นไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน การออกกำลังกายด้วยกิจกรรมเล่นฟุตบอลทำได้ในช่วงเวลาว่างจากการทำงาน จากการเรียน การเล่นกีฬายังช่วยให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดได้อีกทางหนึ่ง ซึ่งในปัจจุบันมีเยาวชนและผู้หลงผิด ปฏิบัติตนไปในทางที่ไม่ควรอยู่มากมาย อาจจะเกิดจากการคบเพื่อไม่ดีชักชวนกันไปในทางที่สร้างปัญหาให้แก่สังคม ไปมั่วสุมอบายมุขต่าง ๆ ส่งผลกระทบถึงประเทศชาติทำให้เกิดการพัฒนาเป็นไปอย่างล้าช้า โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง เป็นการจัดกิจกรรมต่อต้านยาเสพติดในกลุ่มป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด โดยกิจกรรมเหล่านี้มีครูอาจารย์เป็นที่ปรึกษาคอยให้คำแนะนำต่อกลุ่มเยาวชน ในกลุ่มมีทั้งหมดจำนวน 120 คน ปัญหาของเยาวชนส่วนใหญ่ในชุมชนออกระหว่างเรียน คิดเป็นร้อยละ 30 ติดน้ำกระท่อมร้อยละ 20 สาเหตุเกิดการชักจูงในกลุ่มเพื่อน ปัญหาครอบครัว และมีเยาวชน ร้อยละ 10 ที่หันมาทดลองสูบใบจาก แล้วพัฒนามาเป็นบุหรี่ ซึ่งถือว่าเป็นยาเสพติดชนิดแรก ที่ควรป้องกันและแก้ไขโดยเร็ว กลุ่มเยาวชนเทศบาลเมืองเบตงได้ตระหนักถึงปัญหาเหล่านี้ และเพื่อป้องกันเยาวชนที่อยู่ในโรงเรียนไม่ให้ไปยุ่งหรือข้องเกี่ยวกับปัญหายาเสพติด จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้นมา เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงไม่มีโรค เพื่อสร้างความตระหนักและเห็นคุณค่าของการป้องกันโรคด้วยการออกกำลังกาย เพื่อให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับบุคคลอื่น เพื่อส่งเสริมให้ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ห่างไกลจากยาเสพติด โดยเน้นการให้ความรู้แก่เยาวชนในกลุ่มเกี่ยวกับยาเสพติด และส่งเสริมให้เยาวชนออกกำลังกายด้วยฟุตบอลในการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์เพื่อให้ห่างไกลจากยาเสพติดและเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไปในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจํานวน 2 รุ่นๆละ 60 คน
  2. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน
  3. ออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล วันละ 2 ชม.(รุ่นละ 1 ชม.) สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 3 เดือน
  4. ถอดบทเรียน จากการจัดกิจกรรมจากแบบสรุปแผนผังความคิด

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

4.1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้การการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4.2ผู้เข้าอบรมมีความรู้การออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล
4.3 ผู้เข้าอบรมมีทักษะการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง 4.4 ผู้เข้าอบรมมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ที่กำหนด 4.5 ผู้เข้าอบรมมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน

วันที่ 8 ตุลาคม 2565 เวลา 13:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ประชุมวางแผนการดําเนินโครงการ     1.2 ประสานกลุ่มเป้าหมายเด็กเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม
    1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม
    1.4 ประสานวิทยากรคณะผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล และคณะวิทยากรการป้องกันยาเสพติด
    1.5. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ อบรมจำนวนเยาวชน 2 รุ่นๆละ 2 วัน           1.5.1 อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน                   - บรรยายให้ความรู้เรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์ยาเสพติด
                    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง การสร้างความตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
                    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติด กฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับยาเสพติด                     - กิจกรรมกลุ่ม ป้องกันตนให้ห่างไกลจากยาเสพติด                     - กิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหาภัยทางสังคมยาเสพติด ผลกระทบจากการติดยาเสพติด  ต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ                     - กิจกรรมกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นความรุนแรงของยาเสพติด           1.5.2 จัดฝึกอบรมการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน
    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง การออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล     - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์ของการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติด     - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ทฤษฎีและทักษะกีฬาฟุตบอล   - กิจกรรมกลุ่มสาธิตและฝึกกล้ามเนื้อ โดยการออกกำลังกายด้วยฟุตบอล     1.6  ติดตามออกกำลังกายหลังเลิกเรียนของผู้เข้าร่วม       - ประเมินโดยถาม-ตอบ
      - ประเมินทักษะ
      - ประเมินสมรรถภาพทางกาย       - ประเมินใบลงชื่อการมาออกกำลังกาย     1.7  ประเมินผลและสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเยาวชนเมืองเบตง จำนวน 120 คน แยกเป็น 2 รุ้นละ 60 คน -ผู้จัดการและวิทยากร 10 คน

 

0 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจํานวน 2 รุ่นๆละ 60 คน

วันที่ 9 ตุลาคม 2565 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ประชุมวางแผนการดําเนินโครงการ     1.2 ประสานกลุ่มเป้าหมายเด็กเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม
    1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม
    1.4 ประสานวิทยากรคณะผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล และคณะวิทยากรการป้องกันยาเสพติด
    1.5. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ อบรมจำนวนเยาวชน 2 รุ่นๆละ 2 วัน           1.5.1 อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน                   - บรรยายให้ความรู้เรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์ยาเสพติด
                    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง การสร้างความตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
                    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติด กฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับยาเสพติด                     - กิจกรรมกลุ่ม ป้องกันตนให้ห่างไกลจากยาเสพติด                     - กิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหาภัยทางสังคมยาเสพติด ผลกระทบจากการติดยาเสพติด  ต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ                     - กิจกรรมกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นความรุนแรงของยาเสพติด           1.5.2 จัดฝึกอบรมการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน
    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง การออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล     - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์ของการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติด     - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ทฤษฎีและทักษะกีฬาฟุตบอล   - กิจกรรมกลุ่มสาธิตและฝึกกล้ามเนื้อ โดยการออกกำลังกายด้วยฟุตบอล     1.6  ติดตามออกกำลังกายหลังเลิกเรียนของผู้เข้าร่วม       - ประเมินโดยถาม-ตอบ
      - ประเมินทักษะ
      - ประเมินสมรรถภาพทางกาย       - ประเมินใบลงชื่อการมาออกกำลังกาย     1.7  ประเมินผลและสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้แก่กลุ่มเยาวชน จำนวน 120 คน

 

120 0

3. ออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล วันละ 2 ชม.(รุ่นละ 1 ชม.) สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 3 เดือน

วันที่ 10 ตุลาคม 2565 เวลา 17:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

4.1. ผู้เข้าอบรมมีความรู้การการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4.2ผู้เข้าอบรมมีความรู้การออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล
4.3 ผู้เข้าอบรมมีทักษะการออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอลอย่างถูกต้อง 4.4 ผู้เข้าอบรมมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์ที่กำหนด 4.5 ผู้เข้าอบรมมีการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเยาวชนเมืองเบตง จำนวน 120 คน แยกเป็น 2 รุ้นละ 60 คน -ผู้จัดการและวิทยากร 10 คน

 

0 0

4. ถอดบทเรียน จากการจัดกิจกรรมจากแบบสรุปแผนผังความคิด

วันที่ 25 ธันวาคม 2565 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.1 ประชุมวางแผนการดําเนินโครงการ     1.2 ประสานกลุ่มเป้าหมายเด็กเยาวชนที่เข้าร่วมกิจกรรม
    1.3 ประชาสัมพันธ์โครงการ รับสมัครผู้สนใจเข้าร่วมฝึกอบรม
    1.4 ประสานวิทยากรคณะผู้ฝึกสอนกีฬาฟุตบอล และคณะวิทยากรการป้องกันยาเสพติด
    1.5. ดำเนินกิจกรรมตามโครงการ อบรมจำนวนเยาวชน 2 รุ่นๆละ 2 วัน           1.5.1 อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน                   - บรรยายให้ความรู้เรื่อง วิเคราะห์สถานการณ์ยาเสพติด
                    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง การสร้างความตระหนักถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด
                    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ยาเสพติด กฎหมายที่ควรรู้เกี่ยวกับยาเสพติด                     - กิจกรรมกลุ่ม ป้องกันตนให้ห่างไกลจากยาเสพติด                     - กิจกรรมกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหาภัยทางสังคมยาเสพติด ผลกระทบจากการติดยาเสพติด  ต่อตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติ                     - กิจกรรมกลุ่ม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในประเด็นความรุนแรงของยาเสพติด           1.5.2 จัดฝึกอบรมการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล จํานวน 2 รุ่น ๆ ละ 60 คน
    - บรรยายให้ความรู้เรื่อง การออกกำลังกายด้วยกีฬาฟุตบอล     - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ประโยชน์ของการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติด     - บรรยายให้ความรู้เรื่อง ทฤษฎีและทักษะกีฬาฟุตบอล   - กิจกรรมกลุ่มสาธิตและฝึกกล้ามเนื้อ โดยการออกกำลังกายด้วยฟุตบอล     1.6  ติดตามออกกำลังกายหลังเลิกเรียนของผู้เข้าร่วม       - ประเมินโดยถาม-ตอบ
      - ประเมินทักษะ
      - ประเมินสมรรถภาพทางกาย       - ประเมินใบลงชื่อการมาออกกำลังกาย     1.7  ประเมินผลและสรุปผลโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

-กลุ่มเยาวชนเมืองเบตง จำนวน 120 คน แยกเป็น 2 รุ้นละ 60 คน -ผู้จัดการและวิทยากร 10 คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 120
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติการการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดจํานวน 2 รุ่นๆละ 60 คน (2) ฝึกปฏิบัติการออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล  จํานวน  2 รุ่น ๆ ละ 60 คน (3) ออกกำลังกายต้านภัยยาเสพติดด้วยกีฬาฟุตบอล  วันละ 2 ชม.(รุ่นละ 1 ชม.) สัปดาห์ละ 3 วัน เป็นเวลา 3 เดือน (4) ถอดบทเรียน จากการจัดกิจกรรมจากแบบสรุปแผนผังความคิด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการออกกำลังกายด้วยฟุตบอลป้องกันและห่างไกลยาเสพติดสำหรับเด็กและเยาวชนเทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2565-L7161-2-38

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดุลอาซิส ซามัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด