แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)
กิจกรรม | ระยะเวลา | เป้าหมาย/วิธีการ | ผลการดำเนินงาน | ปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข | |||
---|---|---|---|---|---|---|---|
ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ตามแผน | ปฏิบัติจริง | ||
อบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขในการฉีดพ่นหมอกควัน | 2 ม.ค. 2566 | 3 เม.ย. 2566 |
|
1.ให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการใช้เครื่องพ่นหมอกควันป้องกันกำจัดยุงโดยฉีดผลพื้นผิวอย่างถูกต้อง 2.สาธิตวิธีการซ่อมบำรุงเครื่องพ่นหมอกควันเบื้องต้น |
|
จากการดำเนินงานอบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขในการฉีดพ่นหมอกควันป้องกันกำจัดยุงโดยขีดพ่นพื้นผิวอย่างถูกต้อง ทำให้อาสาสมัครสาธารณสุขมีความรู้ความเข้าใจในการใช้เครื่องพ่นหมอกความยาวถูกต้องและสามารถดูแลบำรุงรักษาเครื่องพ่นหมอกควันเบื้องต้นได้ด้วยตนเอง เพิ่มประสิทธิภาพของการพ่นหมอกความกำจัดยุงลายต่อไป |
|
พ่นหมอดควันในพื้นที่ที่มีการระบาดโรคไข้เลือดออก | 2 ม.ค. 2566 | 2 ม.ค. 2566 |
|
1.ประชาสัมพันธ์และให้ความรู้สึกศึกษาเรื่องโรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรค และป้องกัน และควบคุมโรคแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในการประชุมประจำเดือน 2.สำรวจดัชนีลูกน้ำยุงลายโดยอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านในละแวกบ้านที่รับผิดชอบทุกเดือนและรายงานส่งสถานบริการสาธารณสุข 3.รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายทุกวันศุกร์ของสัปดาห์ 4.พ่นหมอกควันหรือละอองฝอยเพื่อทำลายยุงลายตัวแก่ตามหลังคาเรือในเขตพื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคอย่างน้อยพื้นทีละ 2 ครั้งหรือจงครบ 2 ระยะฟักตัวของโลกหรือจนกว่าสถานการณ์การระบาดของโรคจะสงบลง |
|
จากการดำเนินงานป้องกันและ โครงการระบาดของโรคไข้เลือดออกในหลายมิติ ทั้งการเฝ้าระวังวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาสอบสวนโรคทางระบาดวิทยาประชาสัมพันธ์และให้สุขศึกษาสำรวจลูกน้ำยุงลายทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและทำลายยุงลายตัวแก่ทำให้ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลไม่มีอัตราป่วยตายด้วยให้เลือดออกดัชนีความทุกข์ลูกน้ำยุงลายลดลงประชาชนมีความรู้เข้าใจและให้ความสำคัญในการป้องกันและกลุ่มการระบาดของโลกอันจะส่งผลดีต่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในระยะยาว |
|