กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
เรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ต่างๆ 1 ธ.ค. 2565 16 พ.ค. 2566

 

  1. จัดเตรียมอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมและผู้สังเกตการณ์
  2. จัดเตรียมค่าตอบแทนวิทยากร
  3. จัดเตรียมป้ายไวนิลโครงการ
  4. วิทยากรจากอนามัยแนะนำตนเองและฐานการเรียนรู้   ฐานที่ 1 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น   ฐานที่ 2 การดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก   ฐานที่ 3 รู้ทันโรคป้องกันภัยใกล้ตัว
  5. วิทยากรกรให้ความรู้และสาธิต ฐานที่ 1 การปฐมพยาบาลเบื้องต้น ดังนี้   5.1 ปฐมพยาบาลเศษอาหารติดคอ   5.2 ปฐมพยาบาลแขนหรือขาหัก   5.3 ปฐมพยาบาลการทำแผนเบื้องต้น   5.4 ปฐมพยาบาลไฟฟ้าดูด   5.5 ปฐมพยาบาลลมบ้าหมู
  6. วิทยากรกรให้ความรู้และสาธิต ฐานที่ 2 การดูแลรักษาสุขภาพในช่องปาก
  7. วิทยากรกรให้ความรู้ การป้องกัน และการดูแลรักษา ใน ฐานที่ 3 รู้ทันโรคป้องกันภัยใกล้ตัว ได้แก่   7.1 โรคมือ เท้า ปาก   7.2 โรคไข้เลือดออก
  8. นักเรียนสะท้อนความคิดหลังจากได้เรียนรู้ฐานต่างๆ ผ่านการร่วมทำแผ่นภาพ และนำเสนอ

 

  1. ผลผลิต คือ นักเรียนสามารถเรียนรู้ตามฐานการเรียนรู้ต่างๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ ร้อยละ 90
  2. ผลลัพธ์ คือ สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ด้านสุขภาพนักเรียนตามฐานการเรียนรู้ต่างๆ และสามารถนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

 

จัดมุมอนามัยในห้องเรียน (จำนวน 7 ห้องเรียน) 1 ม.ค. 2566 16 พ.ค. 2566

 

  1. บุคลากรในโรงเรียนร่วมกันจัดซื้ออุปกรณ์เพื่อจัดมุมอนามัยที่ประกอบไปด้วย ถังน้ำดื่ม ที่แขวนแก้วน้ำ ในห้องเรียนจำนวน 7 ห้องได้แก่ ห้องป.1, ป.2, ป.3, ป.4, ป.5, ป.6 และห้องอนุบาล
  2. บุคลากรในโรงเรียนร่วมกันจัดทำมุมสำหรับล้างมือ, แปรงฟัน และจัดซื้อขวดปั๊ม, น้ำยาล้างมือ

 

  1. ผลผลิต คือ นักเรียนสามารถใช้บริการมุมอนามัยในห้องเรียน ได้ ร้อยละ 100
  2. ผลลัพธ์ คือ นักเรียนใช้บริการมุมอนามัยในห้องเรียน ทำให้เกิดความสะดวก สะอาด และมีสุขลักษณะอนามัยที่ดีขึ้น

 

จัดห้องพยาบาลพร้อมเวชภัณฑ์ยา 1 ก.พ. 2566 16 พ.ค. 2566

 

จัดซื้อเวชภัณฑ์ยาในห้องพยาบาล เพื่อใช้สอย และบริการสำหรับนักเรียน และบุคลากร โรงเรียนบ้านโหละหนุน ที่เจ็บ ป่วย

 

  1. ผลผลิต คือ ปริมาณนักเรียน และบุคลากร(เจ็บ,ป่วย)ที่ เข้ารับบริการ ร้อยละ 100
  2. ผลลัพธ์ คือ นักเรียน และบุคลากรมีสุขภาพแข็งแรง