กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการฝากครรภ์ การดูแลขณะตั้งครรภ์ และหลังคลอด หมู่ที่ 1 - 4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และส่งต่อเพื่อฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์รายใหม่มาฝากครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 12 สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
0.00

 

2 เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์
ตัวชี้วัด : หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์คุณภาพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
0.00

 

3 เพื่อสร้างเสริมทักษะให้แก่แกนนำอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้มีความรู้ด้านสุขภาวะทางการตั้งครรภ์ และสามารถคัดกรองกลุ่มเสี่ยงได้รวดเร็วและถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้มารดาและเด็กหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : หญิงหลังคลอดได้รับบริการเยี่ยมหลังคลอดตามเกณฑ์มาตรฐาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐
0.00

 

5 เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน
ตัวชี้วัด : เด็กแรกเกิด – ต่ำกว่า 6 เดือนกินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50
0.00

 

6 เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์) ลง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 110 110
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0
ญาติหรือสามี 70 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการค้นหาหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และส่งต่อเพื่อฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ (2) เพื่อติดตามให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการฝากครรภ์และการดูแลก่อนคลอดครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ (3) เพื่อสร้างเสริมทักษะให้แก่แกนนำอาสาสมัครประจำหมู่บ้านให้มีความรู้ด้านสุขภาวะทางการตั้งครรภ์ และสามารถคัดกรองกลุ่มเสี่ยงได้รวดเร็วและถูกต้อง (4) เพื่อให้มารดาและเด็กหลังคลอดได้รับการส่งเสริมสุขภาพที่เหมาะสม (5) เพื่อส่งเสริมให้มารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว อย่างน้อย 6 เดือน (6) เพื่อลดอัตราการคลอดก่อนกำหนด (อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์) ลง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่หญิงหญิงตั้งครรภ์และสามีหรือญาติ โดยใช้หลักสูตรโรงเรียนพ่อแม่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh