กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 นักเรียนครูบุคคลากร และชุมชนได้รับความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของกิจกรรมทางกาย และมีสุขภาพดีทั้งกายและใจ
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลลากรและชุมชนละแวกโรงเรียนร้อยละ ๘๕ มีสุขภาพดีทั้งกายและใจการเล่นแบบกระฉับกระเฉงสุขภาพพลานามัยสมบูรณ์ กิจกรรมหน้าเสาธง Smart Body ทุกวันๆละ 5 นาที
0.00

 

 

 

2 เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนครู บุคคลากร และชุมชนได้ออกกำลังกาย และใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ตัวชี้วัด : นักเรียนร้อยละ ๘๕ มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน เพื่อส่งเสริมออกกำลังกายและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
0.00

 

 

 

3 สร้างการสื่อสารในช่องทางต่างๆ หลากหลายรูปแบบที่สอดคล้องกับวัยและวิธีการทำงานของกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : นักเรียนครูบุคลากร ร้อยละ ๘๕ สร้างการสื่อสารในช่องทางต่างๆ หลากหลายรูปแบบที่สอดคล้องกับวัยและวิธีการทำงานของกลุ่มเป้าหมาย
0.00

 

 

 

4 สร้างความรู้ความเข้าใจ และรณรงค์เรื่องกิจกรรมทางกาย และลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของกลุ่มเป้าหมาย
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลลากรและชุมชนละแวกโรงเรียนร้อยละ ๘๕ สร้างความรู้ความเข้าใจ และรณรงค์เรื่องกิจกรรมทางกาย และลดพฤติกรรมเนือยนิ่งของกลุ่มเป้าหมาย
0.00

 

 

 

5 ผลิตสื่อ คลิปสั้น เสริมการเรียนรู้ เคาะประตูบ้านเพื่อเชิญชวนให้คนมีกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลลากรร้อยละ ๘๕ ผลิตสื่อ คลิปสั้น เสริมการเรียนรู้ เคาะประตูบ้านเพื่อเชิญชวนให้คนมีกิจกรรมทางกาย ลดพฤติกรรมเนือยนิ่ง
0.00

 

 

 

6 จัดกิจกรรม โดยเน้นการเกษตรในโรงเรียนและชุมชน กิจกรรม 5 ส. กิจกรรมกีฬา และการละเล่นไทย
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลลากรและชุมชนละแวกโรงเรียนร้อยละ 90จัดกิจกรรมโดยเน้นการเกษตรในโรงเรียน กิจกรรม 5 ส. กิจกรรมกีฬา และการละเล่นไทย
0.00

 

 

 

7 จัดบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับกิจกรรมการจัดการขยะ และกิจกรรมจิตอาสา
ตัวชี้วัด : นักเรียน ครู บุคลลากรและชุมชนละแวกโรงเรียนร้อยละ ๘๕ จัดบูรณาการกิจกรรมทางกายควบคู่กับกิจกรรมการจัดการขยะ และกิจกรรมจิตอาสา
0.00