กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหมู่ที่ 6 บ้านควนขนุน ได้รับงบประมาณตามโครงการส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษและตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือดเกษตรกรชุมชนบ้านควนขนุน ต.ควนขนุน อ.เขาชัยสน จ.พัทลุง จำนวนเงิน 5,740 บาท (ห้าพันเจ็ดร้อยสี่สิบถ้วน) ได้ดำเนินงานตามโครงการดังนี้ คือ 1.1 จัดอบรมให้ความรู้แก่ อสม. จำนวน 5,740 บาท (ห้าพันเจ็ดร้อยสี่สิบถ้วน) มีค่าใช้จ่ายดังนี้ ค่าตอบแทนวิทยากร ชม.ละ 300 บาท จำนวน 6 ชม. เป็นเงิน 1,800 บาท ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม มื้อละ 30 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 2,340 บาท
ค่าป้ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน 500 บาท ค่าชุดทดสอบโคลีนเอสเตอร์เรส 2 ชุดๆละ 1,000 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 1.2 ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองหาสารเคมีตกค้างในเลือด 1.3 ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ทักษะ ในการปรับพฤติกรรมการใช้สารเคมีในเกษตรกร 1.4 ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการเกษตรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี
ตัวชี้วัด : เกษตรกรได้รับการตรวจคัดกรองหาสารเคมีตกค้างในเลือด ร้อยละ 90

 

2 เพื่อให้เกษตรกร มีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด : เกษตรกร มีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างปลอดภัย ร้อยละ 80

 

3 เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 3 เดือน
ตัวชี้วัด : เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 3 เดือน ร้อยละ 90

 

4 เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 ปลูกผักปลอดสารพิษกินเอง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 78
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 78
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีในการเกษตรได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี (2) เพื่อให้เกษตรกร มีความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้สารเคมีในการเกษตรอย่างปลอดภัย (3) เพื่อให้เกษตรกรที่เข้ารับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือดซ้ำ ภายใน 3 เดือน (4) เพื่อส่งเสริมการปลูกผักปลอดสารพิษ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.กิจกรรมอบรมให้ความรู้ และตรวจหาสารเคมีในเลือด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ 1.เห็นควรแจ้งผู้นำหมู่บ้านและ อสม.ดำเนินการประชาสัมพันธ์ในพื้นที่ให้ประชาชนหันมาปลูกปลอดสารพิษกินเอง 2.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนลดการใช้ยาฆ่าแมลงในการทำการเกษตรในชุมชน 3.สร้างความตระหนักให้ประชาชนในพื้นที่เห็นความสำคัญของสิ่งแวดล้อม เพื่อลดปัญหามลพิษ

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh