กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย
ตัวชี้วัด : จำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อยลดลงเหลือ(ครั้ง)
2.00 0.00 0.00

เหตุการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น การลักขโมย นั้น อาจไม่ได้เกิดจากสาเหตุ ยาเสพติด เพียงเดียว แต่ยังมีสาเหตุปัจจัยอื่นๆอีกที่เกี่ยวข้อง อาทิ คุณภาพชีวิตทางสังคม การศึกษา และการดำรงชีวิตในครอบครัว เป็นต้น

2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน
ตัวชี้วัด : การสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนไม่เกินร้อยละ … (ร้อยละ)
10.85 5.00 5.00

จากการดำเนินโครงการ อาจจะทำให้เยาวชน ในชุมชนมีความรู้เรื่องบุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า มากขึ้น แต่จำนวนร้านค้าที่ยังมีการแอบขายบุหรี่/บุหรี่ไฟฟ้า เท่าเดิม และไม่มีมาตรการในการจัดการร้านค้าเหล่านี้ที่ชัดเจน

3 เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ได้รับการการตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัยและการวางแผนให้ความช่วยเหลือ
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ที่ได้รับการการตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัยและการวางแผนให้ความช่วยเหลือ เพิ่มขึ้นเป็น(คน)
20.00 90.00 90.00

เด็กหรือเยาวชน ในพื้นที่ อาจได้รับความรู้ความเข้าใจ ของแต่ละคนได้ไม่เท่ากัน

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 368 368
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 327 327
กลุ่มวัยทำงาน 41 41
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดจำนวนเหตุการณ์ที่ได้รับผลกระทบจากปัญหายาเสพติดในชุมชน เช่น การเกิดอาชญากรรม การเกิดลักเล็กขโมยน้อย (2) เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชน (3) เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ที่ได้รับการการตรวจคัดกรอง การประเมิน การวินิจฉัยและการวางแผนให้ความช่วยเหลือ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมคัดกรองนักเรียนเป็นรายบุคคล (2) กิจกรรมวันงดสูบบุหรี่โลก (๓๑ พฤษภาคม) (3) กิจกรรมค่ายต่อต้านยาเสพติด

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เห็นควรจัดโครงการดังกล่าวฯ อย่างต่อเนื่อง เพื่อที่ผลการดำเนินงานจะสัมฤทธิ์ผลอย่างเป็นรูปธรรม ต่อไป

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh