กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานตามหลัก 3 อ 2 ส
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคเบาหวานสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพจนควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่เกณฑ์ปกติ ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

 

 

2 2.เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถควบคุมระดับน้ำตาลให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 80
80.00 80.00

 

 

 

3 3. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ทุกคนที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่องมีสุขภาพดี และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรค
100.00 100.00

 

 

 

4 3. เพื่อลดอัตราการเกิดภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดไม่ได้ทุกคนที่เข้าร่วมโครงการ สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างต่อเนื่องมีสุขภาพดี และไม่มีภาวะแทรกซ้อนของโรค
100.00 100.00