กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

วันที่ 7 มิถุนายน 2567 ได้จัดโครงการ อย.น้อย คุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ กิจกรรมจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย เด็กนักเรียน จำนวน 30 คน ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน 20 คน และ ผู้ประกอบร้านค้า/แผงลอย/ ร้านชำ จำนวน 10 คน รวมทั้งหมด 60 คน ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านศาลาหยุดพระ
งบประมาณ จากงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลบ้านกลาง 12,150  บาท รายละเอียด ดังนี้ 1. ค่าอาหารกลางวัน  50 บาท x 60 คน x 1 วัน    เป็นเงิน 3,000 บาท 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 2 มื้อ x 60 คน    เป็นเงิน 3,000 บาท 3. ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คนๆละ 6 ชั่วโมงๆละ 200 บาท    เป็นเงิน 1,200 บาท 4. ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม        เป็นเงิน 4,200 บาท 5. ค่าจัดจ้างทำป้ายโครงการ    เป็นเงิน  750 บาท รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 12,150 บาท ( หนึ่งหมื่นสองพันหนึ่งร้อยห้าสิบบาทถ้วน-) หมายเหตุ ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย 2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและ ชุมชน 3. เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 30
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 0
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 10 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ในเรื่องผลิตภัณฑ์สุขภาพและสามารถเลือกซื้อ เลือกบริโภค ได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
2. เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการมีส่วนร่วมในเรื่องการเฝ้าระวังความปลอดภัยของอาหารในโรงเรียนและ  ชุมชน
3. เพื่อให้มีการเชื่อมโยงเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้การดำเนินกิจกรรม อย.น้อย ในโรงเรียนและชุมชนให้มีความเข้มแข็ง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh