กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการควบคุมและป้องกัน “วัณโรค” ในชุมชน ปี 2566 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางนุชรี หยังหลัง

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกัน “วัณโรค” ในชุมชน ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกัน “วัณโรค” ในชุมชน ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกัน “วัณโรค” ในชุมชน ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกัน “วัณโรค” ในชุมชน ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L6895-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,575.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

 

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง วัณโรค และมีทักษะในในการคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง
  2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง และป้องกันการระบาดของโรควัณโรค ในชุมชน
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลรักษาและควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพ และผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
  4. เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพชุมชน
  2. กิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง
  3. กิจกรรมติดตาม/เยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. แกนนำสุขภาพชุมชน มีความรู้และทักษะการคัดกรองวัณโรค
  2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการคัดกรองวัณโรคและมีความรู้ในการป้องและสังเกตอาการของโรควัณโรค
  3. ผู้ป่วยวัณโรคได้รับการขึ้นทะเบียนและได้รับการติดตามรักษาจนครบ และได้รับการรักษาทุกรา

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพชุมชน

วันที่ 25 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ลงทะเบียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองกันตัง  เมื่อวันที่ ๒๕  พฤษภาคม  ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น.  ณ  อาคารคอซิมบี๊  เทศบาลเมืองกันตัง  มีแกนนำสุขภาพชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองกันตัง จำนวน  ๑๐๐  คน  เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรค การค้นหา/คัดกรองผู้ป่วยวัณโรค/การเป็นพี่เลี้ยงกำกับดูแลการกินยา  เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการคัดกรองโรควัณโรค และสร้างความตระหนักในระดับชุมชน    และร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาวัณโรคให้ลดน้อยลง    โดย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง ให้ความรู้แก่    แกนนำสุขภาพชุมชน ในเรื่อง
-  ความรู้ เรื่องโรค “ วัณโรค” -  การค้นหา  การวินิจฉัย การักษาวัณโรค -  การควบคุมป้องกันวัณโรค และการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน -  ฝึกอบรมวิชาการกลุ่มย่อย โดยแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม เป็น ๔ กลุ่มย่อย (วิทยากรประจำฐานๆ ละ ๑ คน ) โดย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง  เพื่อฝึกอบรมวิชาการกลุ่มย่อย ๔ ฐานการเรียนรู้ ดังนี้ ฐานที่ ๑    การค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/การใช้แบบคัดกรองวัณโรค
ฐานที่ ๒    แนวทางการรักษาวัณโรคและบทบาทแกนนำ สุขภาพชุมชนกับการเป็นพี่เลี้ยงกำกับการกินยาของผู้ป่วยวัณโรค
ฐานที่ ๓    แนวทางการป้องกันควบคุมวัณโรค และวิธีการ ปฏิบัติตัวของผู้ป่วยวัณโรคเพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค ฐานที่ ๔    ยารักษาวัณโรค
๒. การประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อน-หลังการอบรม จำนวน ๑๐ ข้อ ผลการประเมินความรู้  ดังนี้ - ก่อนการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ย ๗.๑๒๘
- หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘.๙๘

 

100 0

2. กิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง

วันที่ 26 พฤษภาคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การคัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง โดย แกนนำสุขภาพชุมชน โดยใช้แบบตรวจคัดกรองประเมินความเสี่ยงผู้ที่มีอาการสงสัยในวัณโรคปอด เพื่อรณรงค์ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพื่อเข้ารับการรักษาอย่างทันท่วงที ต่อไปนี้
-  ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปีงบประมาณ 256๕ และ ๒๕๖๖ ทุกราย ได้รับการคัดกรอง 26 คน -  ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1c มากกว่า 7 ทุกราย  ได้รับการคัดกรอง 32 คน -  ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีโรคCOPD หรือ โรคไตระยะ 4,5 ทุกราย ได้รับการคัดกรอง 5 คน -  ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยTB ได้รับการคัดกรอง 36 คน

 

0 0

3. กิจกรรมติดตาม/เยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรค

วันที่ 1 มิถุนายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน  โดย เจ้าหน้าที่ และแกนนำสุขภาพชุมชน เยี่ยมอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา ๖ เดือน  จำนวน ๕ คน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

๑. การอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำสุขภาพชุมชนในเขตเทศบาลเมืองกันตัง เมื่อวันที่ ๒๕ พฤษภาคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐-๑๖.๓๐ น. ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง  มีแกนนำสุขภาพชุมชน ในเขตเทศบาลเมืองกันตัง จำนวน ๑๐๐ คน  เข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการ ให้ความรู้เกี่ยวกับโรควัณโรค การค้นหา/คัดกรองผู้ป่วยวัณโรค/การเป็นพี่เลี้ยงกำกับดูแลการกินยา  เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ และทักษะการคัดกรองโรควัณโรค และสร้างความตระหนักในระดับชุมชน  และร่วมกันส่งเสริมป้องกันปัญหาวัณโรคให้ลดน้อยลง  โดย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง ให้ความรู้แก่  แกนนำสุขภาพชุมชน ในเรื่อง
-  ความรู้ เรื่องโรค “ วัณโรค” -  การค้นหา การวินิจฉัย การักษาวัณโรค -  การควบคุมป้องกันวัณโรค และการดูแลผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน -  ฝึกอบรมวิชาการกลุ่มย่อย โดยแบ่งกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม เป็น ๔ กลุ่มย่อย (วิทยากรประจำฐานๆ ละ ๑ คน ) โดย ทีมวิทยากรจากโรงพยาบาลกันตัง  เพื่อฝึกอบรมวิชาการกลุ่มย่อย ๔ ฐานการเรียนรู้ ดังนี้ ฐานที่ ๑  การค้นหาผู้ป่วยเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง/การใช้แบบคัดกรองวัณโรค
ฐานที่ ๒  แนวทางการรักษาวัณโรคและบทบาทแกนนำ สุขภาพชุมชนกับการเป็นพี่เลี้ยงกำกับการกินยาของผู้ป่วยวัณโรค
ฐานที่ ๓  แนวทางการป้องกันควบคุมวัณโรค และวิธีการ ปฏิบัติตัวของผู้ป่วยวัณโรคเพื่อลดการแพร่กระจายของเชื้อโรค ฐานที่ ๔  ยารักษาวัณโรค
๒. การประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อน-หลังการอบรม จำนวน ๑๐ ข้อ ผลการประเมินความรู้ ดังนี้ - ก่อนการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ย ๗.๑๒๘
- หลังการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมได้คะแนนเฉลี่ยร้อยละ ๘.๙๘ ๓.การคัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง โดย แกนนำสุขภาพชุมชน โดยใช้แบบตรวจคัดกรองประเมินความเสี่ยงผู้ที่มีอาการสงสัยในวัณโรคปอด เพื่อรณรงค์ค้นหาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพื่อเข้ารับการรักษาอย่างทันท่วงที ต่อไปนี้
- ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ ปีงบประมาณ 256๕ และ ๒๕๖๖ ทุกราย - ผู้ป่วยเบาหวานที่มีค่า HbA1c มากกว่า 7 ทุกราย - ผู้สูงอายุ 60 ปีขึ้นไป ที่มีโรคCOPD หรือ โรคไตระยะ 4,5 ทุกราย - ผู้สัมผัสร่วมบ้านผู้ป่วยTB
ผลดำเนินการการค้นหา/คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยงในชุมชน โดยใช้แบบตรวจคัดกรองประเมินความเสี่ยงผู้ที่มีอาการสงสัยในวัณโรคปอด ตามกลุ่มเป้าหมาย
4. ติดตามเยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรคในชุมชน โดย เจ้าหน้าที่ และแกนนำสุขภาพชุมชน เยี่ยมอย่างน้อยอาทิตย์ละ 1 ครั้ง เป็นระยะเวลา ๖ เดือน จำนวน ๕ คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง วัณโรค และมีทักษะในในการคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :

 

2 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง และป้องกันการระบาดของโรควัณโรค ในชุมชน
ตัวชี้วัด :

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลรักษาและควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพ และผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

4 เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชนมีความรู้ ความเข้าใจ เรื่อง วัณโรค  และมีทักษะในในการคัดกรองผู้ป่วยได้ถูกต้อง (2) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่มเสี่ยง    และป้องกันการระบาดของโรควัณโรค ในชุมชน (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าถึงการดูแลรักษาและควบคุมวัณโรคอย่างมีคุณภาพ และผู้ป่วยวัณโรคได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง (4) เพื่อสร้างความตระหนักของชุมชนในการควบคุมป้องกันโรควัณโรคอย่างจริงจังและต่อเนื่อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการอบรมเชิงปฏิบัติการ แกนนำสุขภาพชุมชน (2) กิจกรรมการรณรงค์/ประชาสัมพันธ์คัดกรองวัณโรคกลุ่มเสี่ยง (3) กิจกรรมติดตาม/เยี่ยมบ้านผู้ป่วยวัณโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกัน “วัณโรค” ในชุมชน ปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนุชรี หยังหลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด