กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง


“ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2566 ”

ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ

ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2566

ที่อยู่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 7 ธันวาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2566 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2566



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2566 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกันตัง อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 66-L6895-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 7 ธันวาคม 2565 - 31 สิงหาคม 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองกันตัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันโครงสร้างประชากรของประเทศไทยมีสัดส่วนผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้น และได้เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ สิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ในภาวะเช่นนี้คือ การเตรียมพร้อมเพื่อการป้องกันการเกิดโรคภัยต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นตามมาพร้อมๆ กับอายุที่ยืนยาวขึ้น และหนึ่งในโรคที่มักจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุ คือโรคสมองเสื่อม ซึ่งเป็นโรคที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับอายุที่มากขึ้น
โรคสมองเสื่อมเป็นความผิดปกติที่สมองทำงานด้อยลงจากเดิมจนมีผลกระทบต่อการทำงานหรือ      การใช้ชีวิตประจำวันของบุคคลนั้นๆ และทำให้ความรอบรู้ ความเฉลียวฉลาด ความคิด การตัดสินใจ เปลี่ยนแปลงไปในทางลดลง นอกจากนี้ปัญหาสำคัญที่พบในผู้ป่วยสมองเสื่อมมี 2 ประการ คือ ปัญหาความจำและพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง ซึ่งพบว่าผู้ป่วยจะมีการสูญเสียความจำระยะสั้นก่อนแล้วจึงสูญเสียความจำระยะยาว ตลอดจนความสามารถในการตัดสินใจ ทำให้เป็นภาระแก่ผู้ดูแลและครอบครัวที่ต้องคอยดูแลอย่างใกล้ชิดเพื่อระมัดระวัง  การเกิดอุบัติเหตุต่างๆ จากปัญหาดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อทั้งผู้สูงอายุและผู้ดูแลอย่างมากในหลายด้าน โดยเฉพาะทางด้านจิตใจเพราะทำให้เกิดความเครียดที่ต้องปรับเปลี่ยนวิถีชีวิต จนบางครั้งอาจเกิดภาวะซึมเศร้าได้ในบางราย จากข้อมูลงานรักษาจากรพ.ตรัง ประจำปีงบประมาณ 2565 พบว่ามีผู้สูงอายุที่มีภาะสมองเสื่อม  ในเขตเทศบาลเมืองกันตัง จำนวน 4 ราย ศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง ได้ตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้นตามมาจากภาวะโรคสมองเสื่อม จึงได้จัดทำโครงการ “ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม” ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและมีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและสามารถใช้ชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุขต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
  3. เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและผู้ดูแล

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพชุมชน
  2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลและผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม
  2. ผู้สูงอายุและผู้ดูแลทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
  3. มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้สูงอายุ และผู้ดูแล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพชุมชน

วันที่ 20 เมษายน 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดอบรมแกนนำสุขภาพชุมชน 12 ชุมชนๆ ละ 3 คน จำนวน 36 คน เพื่อให้ความรู้ในการตรวจคัดกรองภาวะสมองเสื่อมผู้สูงอายุในชุมชน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน  36  คน  เมื่อวันที่ 20  เมษายน  2566  ณ  ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง  ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและการใช้เครื่องมือในการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ  โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้

 

36 0

2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลและผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง

วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน/ประเมินความรู้ก่อนอบรม 09.00 - 09.15 น. พิธีเปิด 09.15 - 10.15 น. บรรยายเรื่อง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโรคสมองเสื่่อม 10.15 - 10.30 น.  พักรับประานอาหารว่าง 10.30 - 12.20 น. บรรยายเรื่อง การป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อม 12.20 - 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 - 16.00 น. แบ่งกลุ่มเข้าฐานการเรียนรู้ 3 ฐาน                         - ฐานที่ 1 ฐานอาหารบำรุงสมอง                         - ฐานที่ 2 ฐานฝึกสมองด้วย Brain ygm                         - ฐานที่ 3 ฐานสันทนาการส่งเสริมความจำ 16.00 -16.30 น. ตอบข้อซักถาม/ประเมินคามรู้หลังอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลและผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคสมองเสื่อมที่สนใจเข้าร่วมโครงการ  จำนวน  60  คน  ในเรื่องการให้ความรู้เรื่องโรคสมองเสื่อม  และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อม เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2566 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 71 คน
1. ประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม  จำนวน  60  ชุด  ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่องโรคสมองเสื่อมและการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม  (คำถามแบบทำเครื่องหมายถูกผิดหน้าข้อความ จำนวน  6 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน  รวมคะแนนเต็ม  6  คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมินได้  ดังนี้ - ก่อนการอบรม  ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 60 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  5  คะแนน  จำนวน 12  คน  รองลงมาคือ  4  คะแนน  จำนวน  24  คน  3 คะแนน  จำนวน 14  คน  2  คะแนน  จำนวน  7  คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่  1 คะแนน  จำนวน  3  คน  จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน  4  คะแนนมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ 40  รองลงมาคือ  3  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  23.3 ,  5  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  20,  2 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  11.7 ,  1  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  5 ตามลำดับ - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน  55  ชุด พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่  6  คะแนน  จำนวน  29 คน  รองลงมาคือ  5  คะแนน  จำนวน 13 คน  4  คะแนน  จำนวน  10  คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่  3 คะแนน  จำนวน  3  คน  จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้คะแนน  6  คะแนนมากที่สุด  คิดเป็นร้อยละ 52.72  รองลงมาคือ  5  คะแนน จำนวนคะแนนละ 13 คน คิดเป็นร้อยละ  23.63, 4  คะแนน  คิดเป็นร้อยละ  18.2, และ  3 คะแนน  คิดเป็นร้อยละ 5.45  ตามลำดับ

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมให้ความรู้แก่แกนนำสุขภาพชุมชน จำนวน 36 คน เมื่อวันที่ 20 เมษายน 2566 ณ ห้องประชุมสภาเทศบาลเมืองกันตัง ในเรื่องความรู้เกี่ยวกับโรคสมองเสื่อมและการใช้เครื่องมือในการคัดกรองภาวะสมองเสื่อมในผู้สูงอายุ โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกันตังใต้
  2. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลและผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรคสมองเสื่อมที่สนใจเข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน ในเรื่องการให้ความรู้เรื่องโรคสมองเสื่อม และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดภาวะสมองเสื่อม เมื่อวันที่ 30 พฤษภาคม 2566 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ซึ่งมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 71 คน
  3. ประเมินความรู้ก่อน-หลังการอบรม จำนวน 60 ชุด ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่องโรคสมองเสื่อมและการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม (คำถามแบบทำเครื่องหมายถูกผิดหน้าข้อความ จำนวน 6 ข้อ ๆ ละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 6 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้
    • ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 60 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 5 คะแนน จำนวน 12 คน รองลงมาคือ 4 คะแนน จำนวน 24 คน 3 คะแนน จำนวน 14 คน 2 คะแนน จำนวน 7 คน  และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 1 คะแนน จำนวน 3 คน จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน 4 คะแนนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 40  รองลงมาคือ 3 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 23.3 , 5 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 20, 2 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 11.7 , 1 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 5 ตามลำดับ
    • หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 55 ชุด พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 6 คะแนน จำนวน 29 คน รองลงมาคือ 5 คะแนน จำนวน 13 คน  4 คะแนน จำนวน 10 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 3 คะแนน จำนวน 3 คน จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้คะแนน 6 คะแนนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 52.72 รองลงมาคือ 5 คะแนน จำนวนคะแนนละ 13 คน คิดเป็นร้อยละ 23.63, 4 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 18.2, และ 3 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 5.45 ตามลำดับ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ดูแลผู้สูงอายุ ได้รับความรู้และได้ทักษะการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงที่จะเกิดสมองเสื่อม

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ได้รับการตรวจคัดกรอง ประเมินภาวะสมองเสื่อม

 

3 เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและผู้ดูแล
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60 71
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 60 71
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคสมองเสื่อม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้ดูแลทราบถึงแนวทางในการดูแลสุขภาพเพื่อป้องกันการเกิดโรคสมองเสื่อม (3) เพื่อเป็นการสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นกับผู้สูงอายุและผู้ดูแล

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพชุมชน (2) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการแก่ผู้ดูแลและผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัย ห่างไกลสมองเสื่อม เทศบาลเมืองกันตัง ปี 2566 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 66-L6895-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด