กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

ส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน (Zoonosis) และแก้ปัญหาความเดือดร้อนรำคาญจากลิงแบบบูรณาการ และยั่งยืนในเขตเทศบาลนครหาดใหญ่ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2566

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : ลดความก้าวร้าวของลิง และมีการทำทะเบียนประชากรลิงเพื่อรู้จำนวนประชากรลิงในบริเวณพื้นที่สวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่

 

2 เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว
ตัวชี้วัด : จำนวนประชากรลิงลดจำนวนลง

 

3 เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ - เมลีออยด์ Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้
ตัวชี้วัด : ทราบว่าลิงที่อาศัยอยู่ในบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ มีความเสี่ยงต่อโรคสัตว์สู่คนหรือไม่

 

4 เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค)
ตัวชี้วัด : สามารถทราบผลการตรวจเลือดในลิงที่จับได้ เพื่อตรวจหาเชื้อโปรโตซัว จากเลือดของลิง เพื่อทราบว่าลิงในกลุ่มดังกล่าว มีเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) หรือไม่

 

5 เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่
ตัวชี้วัด : โดยการลดประชากรลิงด้วยวิธีการเคลื่อนย้ายลิงไปยังเกาะ...........

 

6 สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง
ตัวชี้วัด : การจัดระบบการกำจัดขยะหรือสิ่งที่เป็นอาหารให้กับลิง เพราะจะเป็นการดึงดูดให้ลิงออกมานอกพื้นที่อนุรักษ์ - ชาวบ้าน และนักท่องเที่ยว มีความเข้าใจในเรื่องลิงมากขึ้น - การปฏิบัติตัวที่ถูกต้องเมื่อเจอลิง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อบรรเทาปัญหาและแก้ไขปัญหาที่เกิดจากลิง มีการทำทะเบียนประชากรลิง รูปพรรณ และสักบนผิวหนัง และทราบจำนวนประชากรลิงในบริเวณสวนสาธารณะเทศบาลนครหาดใหญ่ (2) เพื่อควบคุมประชากรลิงให้เหมาะสมกับพื้นที่ ซึ่งเป็นกระบวนการควบคุมประชากรลิงป่ามิให้เพิ่มจำนวนจนถึงวาระประชากรล้น ด้วยการคุมกำเนิดลิงโดยวิธีการทำหมันถาวร ทั้งในเพศผู้และเพศเมีย ด้วยการผ่าตัด แบบไม่ส่งผลต่อการลดพฤติกรรมทางเพศ และปล่อยคืนสู่ป่า โดยมีเป้าหมายลิงทั้งเพศผู้และเมียจำนวน 150 ตัว (3) เพื่อส่งเสริมกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคที่เกิดจากสัตว์สู่คน(Zoonosis) และมุ่งเน้นเป็นมาตรฐานและมาตรการในการป้องกันโรค เช่น      - มาลาเรียโนวไซ PK ตรวจ 150 ตัวอย่าง  - โรคพิษสุนัขบ้า Rabies สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - ไวรัสเฮอร์ปี่ Herpes virus สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - ตับอักเสบ Hepatitis สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้    - ฝีดาษวานร Monkey Pox สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - พยาธิเม็ดเลือด Blood Parasite สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้  - เมลีออยด์  Meliodosrs สุ่มตรวจ 10 % ของลิงที่จับได้ (4) เพื่อการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่  ตรวจหาเชื้อมาลาเรียโนวไซ(PK) โดยการเก็บตัวอย่างเลือดลิงโดย กองโรคติดต่อนำโดยแมลง สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่12 จ.สงขลา(กรมควบคุมโรค) (5) เพื่อแก้ปัญหาลิงที่เข้ามาสร้างความเดือดร้อนแก่ประชาชน นักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการบริเวณสวนสาธารณะ เทศบาลนครหาดใหญ่ (6) สร้างความเข้าใจกับชาวบ้านในชุมชน/นักท่องเที่ยวในเรื่องของการให้อาหารลิง โดยการประชาสัมพันธ์ เกี่ยวกับพฤติกรรมลิง การอยู่ร่วมกันของคนและลิง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าตอบแทนเจ้าหน้าภายนอกในการสำรวจ) (2) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงเจ้าหน้าที่หน่วยงานภายนอกในการสำรวจ) (3) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารกลางวัน) (4) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม) (5) กิจกรรมสำรวจประชากรลิง(ค่าน้ำดื่ม) (6) กิจกรรมในการประชาสัมพันธ์(ค่าแผ่นพับ) (7) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำดื่ม) (8) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม) (9) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอาหารกลางวัน) (10) กิจกรรมการประชาสัมพันธ์ (11) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าอุปกรณ์ทำหมันลิง) (12) กิจกรรมทำหมันลิง (13) กิจกรรมทำหมันลิง (14) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าน้ำมันเชื้อเพลิง) (15) กิจกรรมทำหมันลิง(ค่าที่พัก) (16) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าตรวจโรค) (17) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน(ค่าส่งตรวจ) (18) กิจกรรมที่ 1 (ค่าอาหารว่างสำหรับการประชุม)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh