กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี

ชื่อโครงการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-1-03 เลขที่ข้อตกลง 04/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 มกราคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 มกราคม 2566 - 30 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 113,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจและสังคมหลังจากการระบาดของโรค Covid- 19 ประเทศไทยจัดอยู่ในกลุ่มประเทศที่ฟื้นตัวช้า เพราะมีสัดส่วนการพึ่งพาภาคการท่องเที่ยวสูง พิษจากโควิด 19 ส่งผลกระทบให้เศรษฐกิจซบเซามากว่า 3 ปี ปี 2565 นี้จึงเป็นปีแรกที่เศรษฐกิจไทยเริ่มฟื้นตัวอย่างชัดเจน ปัจจัยสำคัญมาจากการได้รับวัคซีนอีกทั้งรัฐบาลได้ประกาศให้โรคโควิด-19 เป็นโรคประจำถิ่น ทำให้เศรษฐกิจในประเทศเริ่มกลับมาเดินเครื่องได้อย่างเต็มที่รวมถึงการเปิดรับนักท่องเที่ยวทั้งคนไทยและต่างชาติ ซึ่งถือเป็นหนึ่งในแหล่งรายได้หลัก เทศบาลเมืองเบตง หลังการระบาดของโรค Covid- 19ได้มีนโยบายชูด้านการท่องเที่ยว เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ รับนักท่องเที่ยวทั้งภายในและภายนอกประเทศ ส่งผลให้มีนักท่องเที่ยวเข้ามาในเขตเทศบาลเมืองเบตงจำนวนมาก จากการเปิดเมือง ทำให้มีสถานประกอบการร้านค้า สถานบริการแหล่งบันเทิง โรงแรม อพาร์ตเม้น ที่พัก ต่างๆมีการเปิดตัวจำนวนมาก ซึ่งจากการสำรวจของงานสุขาภิบาลอนามัยสิ่งแวดล้อม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมมีสถานประกอบการประมาณ หนึ่งพันกว่าแห่ง (ข้อมูล ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2565) นอกจากนี้หน่วยงานภาครัฐ โรงเรียนต่างๆได้มีการเปิดทำงาน เปิดการเรียนการสอนอย่างเต็มรูปแบบ การฟื้นตัวทางด้านเศรษฐกิจและสังคมนี้ ส่งผลให้เกิดการเคลื่อนตัวของประชากรแฝงที่เข้ามาอาศัยเพื่อทำงานอีกเป็นจำนวนมาก สถานการณ์ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในเขตเทศบาลโดยตรง คือมีปริมาณขยะประเภทต่างๆเพิ่มมากขึ้น เกิดน้ำเสียจากครัวเรือน สถานประกอบการ หน่วยงานองค์กรเพิ่มมากขึ้น เกิดมลพิษทางอากาศ ไม่ว่าจากการประกอบกิจการ หรือเกิดฝุ่นควันเขม่ารถยนต์ จักรยานยนต์ ผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเหล่านี้ นอกจากส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่อยู่อาศัยบริเวณแหล่งกำเนิดมลพิษแล้ว ยังส่งผลกระทบโดยตรงต่อสุขภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานให้บริการด้านการรักษาความสะอาด และด้านสุขาภิบาลของเทศบาล เพราะจะต้องสัมผัสกับสิ่งปฏิกูล มูลฝอยทุกวัน นอกจากนี้ยังมีงานบริการสาธารณะที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพอีกหลายงาน เช่น งานป้องกันและควบคุมโรคโดยใช้สารเคมี เช่น ควบคุมป้องกันเชื้อไวรัสโคโรน่า-2019 โดยการฉีดพ่นสารเคมีฆ่าเชื้อ การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยการฉีดพ่นสารเคมีกำจัดยุงตัวแก่งานดูแลโรงฆ่าสัตว์และศูนย์พักพิงสุนัข งานสุขาภิบาลตลาด งานฌาปนสถาน งานเหล่านี้ล้วนจะต้องสัมผัสกับสารเคมี และเชื้อโรคอยู่ตลอดเวลา งานศูนย์บริการ งานส่งเสริมสุขภาพ งานทันตสาธารณสุข งานป้องกันและควบคุมโรคและงานอื่นๆที่จะต้องสัมผัสกับผู้ป่วยกับประชาชนจำนวนมาก หากขาดความรู้ ความเข้าใจ ในการป้องกันตนเองอย่างถูกวิธี อาจก่อให้เกิดการติดเชื้อ เกิดโรคภัยและอันตรายถึงแก่ชีวิต งานธุรการ ที่ทำงานกับคอมพิวเตอร์เอกสารเป็นระยะเวลานานจนเกิดผลกระทบต่อสุขภาพกาย สุขภาพจิต เกิดอาการออฟฟิศซินโดรม การเจ็บปวดกล้ามเนื้อ และเส้นประสาท หมอนรองกระดูก ซึ่งอาจส่งผลต่อการเกิดอัมพฤกษ์อัมพาตได้ เทศบาลเมืองเบตง โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ได้เกิดความตระหนักและเห็นถึงอันตราย ที่จะเกิดขึ้นกับพนักงาน เจ้าหน้าที่ ที่ปฏิบัติงานให้บริการสาธารณะ และงานออศฟิสดังกล่าวข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ อาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง ทั้งสังกัดกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม สังกัดกองช่างและสังกัดงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย สำนักปลัดเทศบาลขึ้น เพื่อให้การประกอบอาชีพการปฏิบัติงานของพนักงาน เจ้าหน้าที่ ปราศจากโรคและมีสภาวะสมบูรณ์ดีทั้งทางร่างกาย ทางจิตใจ ทางสังคม และจิตวิญญาณ มีสภาวะที่ปราศจากภัยคุกคาม ไม่มีอันตราย หรือความเสี่ยงใดๆ อนึ่ง การดำเนินงานโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองเบตง ได้รับการจัดบริการสาธารณะด้านสาธารณสุขอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ทั้งนี้ขอรับรองว่าโครงการนี้ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น มีความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน และเทศบาลเมืองเบตงได้รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติฯ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติมแล้ว

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการสร้างสมดุลชีวิตด้วยดนตรีบำบัด (Musical Therapy) (อ.อารมณ์)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 210
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1 พนักงาน มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน 2 พนักงาน สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง 3 พนักงาน สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อผลสุขภาพได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการสร้างสมดุลชีวิตด้วยดนตรีบำบัด (Musical Therapy) (อ.อารมณ์)

วันที่ 12 มกราคม 2566 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

4.2.1 การประเมินสุขภาพเบื้องต้น (การวัดความดัน การตรวจประเมินร่างกาย เป็นต้น) 4.2.2 กิจกรรมอบรม โดยแบ่งเป็น - อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการสร้างสมดุลชีวิตด้วยดนตรีบำบัด (Musical Therapy) (อ.อารมณ์)                 (1) อบรมบรรยายเรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน (อ.อโรคยา) (หลักสูตรแนบท้าย) - ความรู้เรื่องการยศาสตร์และข้อควรระมัดระวังในการปฏิบัติงาน - ความรู้เรื่องภัยอันตรายที่มีผลต่อสุขภาพและโรคที่เกิดจากการปฏิบัติงาน - ความรู้เรื่องแนวทางการดูแลสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน
- ความรู้เรื่องกรณีตัวอย่างของปัญหาด้านสุขภาพของผู้ปฏิบัติงาน                 (2) อบรมเชิงปฏิบัติการค้นหาความเสี่ยง และ การขจัดความเสี่ยง (แบ่ง 5 กลุ่ม) (หลักสูตรแนบท้าย) - นำเสนอผลการค้นหาความเสี่ยงและแสดงความคิดเห็น - อบรมเชิงปฏิบัติการโภชนาและอาหารเพื่อสุขภาพแก่ผู้ปฏิบัติงาน (อ.อาหารปลอดภัย) แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติจัดทำอาหารสุขภาพ (แบ่ง 5 กลุ่ม) เช่น อาหารกลุ่มโปรตีนเสริมสร้างกล้ามเนื้อ อาหารสมุนไพร เป็นต้น 4.2.3 กิจกรรมสันทนาการ - การออกกำลังกายและสันทนาการเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันโรค (อ.ออกกำลังกาย)                 (3) อบรมเชิงปฏิบัติการขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพ โดยการส่งเสริมสุขภาพ และสร้างภูมิคุ้มกันโรค ลด ละ เลิกอบายมุข การพนัน ยาเสพติด บุหรี่ สุรา และการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ (อ.อบายมุข) - จำลองสถานการณ์จริง ประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้รับจากการอบรมในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์ที่กำหนด (แบ่ง 5กลุ่ม)     4.3 ขั้นประเมินผล       (1) จากการทำแบบทดสอบก่อน - หลังการอบรม                 (2) จากการถาม-ตอบ ระหว่างการอบรม                 (3) จากแบบสรุปแผนผังความคิดจากการหาความเสี่ยงและขจัดความเสี่ยงจากการทำงาน                 (4) จากการสังเกตการให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม                 (5) จากผลการเข้าร่วมกิจกรรมและสามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง     4.4 ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. พนักงาน มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
  2. พนักงาน สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
  3. พนักงาน สามารถนำความรู้และทักษะที่ได้รับไปจัดการความเสี่ยงจากการทำงานที่ส่งต่อผลสุขภาพได้

 

210 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน
0.00

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย สามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 210
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 210
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่องอาชีวอนามัย ความปลอดภัยในการทำงาน (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายสามารถค้นหาความเสี่ยง และ สามารถขจัดความเสี่ยงต่อสุขภาพได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมเชิงปฏิบัติเรื่องการสร้างสมดุลชีวิตด้วยดนตรีบำบัด (Musical Therapy) (อ.อารมณ์)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทำงานของพนักงานเทศบาลเมืองเบตง จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศุภัศร์มา ยี่สุ่นศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด