กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบการติดตามประเมินผลการดำเนินกิจกรรมของโครงการ (Process Evaluation)

กิจกรรมระยะเวลาเป้าหมาย/วิธีการผลการดำเนินงานปัญหา/อุปสรรค/แนวทางแก้ไข
ตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริงตามแผนปฏิบัติจริง
กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่า เดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน 24 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล 28 ม.ค. 2566

 

 

 

 

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 1 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ต่าง ๆ 28 ม.ค. 2566 28 ม.ค. 2566

 

1.ขั้นวางแผน     1.1 ประชุมวางแผนการดำเนินการจัดโครงการ     1.2 ประชุมสมาชิกชมรมอนุรักษ์เพลงเก่าเพื่อหารือรูปแบบของโครงการและกิจกรรม     1.3 สำรวจผู้ที่สนใจเข้าร่วมโครงการ     1.4ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง     1.5 เสนอโครงการเพื่อของบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพในการดำเนินงาน และพิจารณาอนุมัติโครงการ     1.6 ประสานวิทยากรในการจัดกิจกรรมให้ความรู้ คัดกรองและให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต     1.7 ขอใช้สถานที่ จัดเตรียมเอกสาร และวัสดุอุปกรณ์ในการดำเนินโครงการ     1.8 ประชาสัมพันธ์กลุ่มเป้าหมาย 2. ขั้นดำเนินการ       2.1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ต่าง ๆ ดังนี้           - กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด,การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง,การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล
    2.2 กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่า           - กิจกรรมผ่อนคลายความเครียดด้วยเพลงเก่าอย่างต่อเนื่อง เดือนละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 6 เดือน ในสถานที่สาธารณะ
            - กิจกรรมคัดกรองประเมินภาวะเครียด ความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ให้คำปรึกษาแก่ประชาชนและส่งต่อผู้ที่มีภาวะซึมเศร้า หรือปัญหาสุขภาพจิตที่ต้องการการรักษาให้ได้รับบริการด้านสุขภาพจิต
          - ติดตามประเมินระดับภาวะเครียด ระดับความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า ตลอดจนการปฏิบัติตามแผนจัดการความเครียดของผู้เข้าอบรมหลังสิ้นสุดกิจกรรม
3. ขั้นสรุปและเขียนรายงาน

 

จัดอบรมให้ความรู้เรื่องความเครียด,การประเมินระดับความเครียดและความเสี่ยงต่อโรคซึมเศร้าด้วยตนเอง,การจัดการความเครียด และการทำแผนจัดการความเครียดส่วนบุคคล  จำนวน 1 ครั้ง

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 2 25 ก.พ. 2566 25 ก.พ. 2566

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 3 25 มี.ค. 2566 25 มี.ค. 2566

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 4 25 เม.ย. 2566 25 เม.ย. 2566

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 5 6 พ.ค. 2566 6 พ.ค. 2566

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีผ่อนคลายความเครียด ครั้งที่ 6 10 มิ.ย. 2566 10 มิ.ย. 2566

 

กิจกรรมร้องเล่นดนตรีเพื่อผ่อนคลายความเครียดโดยมีผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มแรกดำเนินกิจกรรม และตั้งบูธประเมินระดับความเครียด คัดกรองภาวะซึมเศร้าและให้คำปรึกษาแก่ผู้สนใจ อบรมผู้ให้ความรู้ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

 

  1. ประชาชนมีความเข้าใจเรื่องความเครียดมากขึ้น ประเมินความเครียดของตนเองได้ ทำแผนจัดการความเครียดของตนเองได้ ตลอดจนเผยแพร่ข้อมูลความรู้ด้านสุขภาพจิตที่ถูกต้องแก่ผู้อื่นได้
  2. ประชาชนได้รับการคัดกรองระดับความเครียด และความเสี่ยงต่อภาวะซึมเศร้า
  3. กลุ่มเสี่ยงสูงด้านสุขภาพจิตได้รับการให้การปรึกษาหรือส่งต่อเข้าสู่กระบวนการรักษา
  4. ประชาชนที่สนใจดนตรีมีกิจกรรมกลุ่มในการผ่อนคลายด้วยดนตรีร่วมกันในพื้นที่เทศบาลเมืองเบตง
  5. ระดับความเครียด และภาวะซึมเศร้าของประชาชนที่เข้าร่วมการอบรมลดลง