กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง


“ โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” ”

ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นายทวีป จิรรัตนโสภา

ชื่อโครงการ โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”

ที่อยู่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-3-02 เลขที่ข้อตกลง 16/2566

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2566 ถึง 19 กันยายน 2566


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 2566-L7161-3-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2566 - 19 กันยายน 2566 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 143,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองเบตง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันสังคมไทยกําลังเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากรครั้งสําคัญซึ่งสอดคล้องกับสถานการณ์ประชากรโลกคือการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ซึ่งเป็นผลมาจากความก้าวหน้าของเทคโนโลยีทางการแพทย์และการวางแผนครอบครัวที่ผ่านมา ทำให้อัตราการเกิดและอัตราการตายของประชากรลดลงอย่างต่อเนื่อง ประชากรที่อยู่ในวัยสูงอายุจึงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ในขณะที่ประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานมีแนวโน้มที่ลดลง ทำให้อายุเฉลี่ยของประชากรไทยนั้นสูงขึ้น อย่างไรก็ตามการก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์มากขึ้นเรื่อยๆ นั้น ไม่ได้หมายความว่าผู้สูงอายุในประเทศไทยจะมีสุขภาพหรือมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นเสมอไป เพราะพบว่าปัญหาภาวะทุพพลภาพและภาวะพึ่งพิงของผู้สูงอายุก็เพิ่มมากขึ้นเช่นเดียวกัน
คุณภาพชีวิต ซึ่งหมายถึงการมีสุขภาพอนามัยที่ดี ทั้งร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ (สุนทรียะแห่งชีวิต) นั้นเป็นเป้าหมายหลักของมนุษย์ในทุกๆ ช่วงวัย โดยแต่ละช่วงชีวิตนั้นก็มีความต้องการ และวิธีการส่งเสริมที่แตกต่างกันออกไป ผู้สูงอายุก็เช่นกัน มีการแบ่งมิติของความสุขในผู้สูงอายุออกเป็น 5 มิติ ได้แก่ สุขสบาย ซึ่งเน้นเรื่องสุขภาพร่างกาย การปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน และพฤติกรรมเสี่ยงด้านสุขภาพของผู้สูงอายุ สุขสนุก เป็นความสามารถของผู้สูงอายุในการเลือกวิถีชีวิตที่รื่นรมย์ด้วยการทำกิจกรรมที่ก่อให้เกิดอารมณ์เป็นสุข จิตใจสดชื่นแจ่มใส สุขสง่า เน้นความเข้าใจในความเป็นไปในชีวิต ความมีคุณค่าในตนเอง มีมุมมองและความรู้สึกต่อตนเองและผู้อื่นอย่างเห็นอกเห็นใจ ไม่ซึมเศร้า ไม่ท้อแท้ สุขสว่าง เป็นความสามารถด้านความจำ ความเข้าใจความคิดแบบนามธรรม การสื่อสาร การใช้เหตุผล และการวางแผนแก้ไขปัญหา สุขสงบ เป็นการรับรู้เข้าใจความรู้สึกของตนเอง รู้จักควบคุมอารมณ์และสามารถจัดการกับภาวะอารมณ์ที่เกิดขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งความสามารถในการควบคุมความต้องการจากแรงกระตุ้นได้อย่างเหมาะสม สามารถผ่อนคลายให้เกิดความสุขกับตัวเองได้
สถานการณ์ของผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง ข้อมูล ณ วันที่ 16 กันยายน 2565 พบว่า ผู้สูงอายุในพื้นที่ มีคุณภาพชีวิตและภาวะสุขภาพที่แตกต่างกันในแต่ละคน มีทั้งผู้สูงอายุที่ติดเตียง ติดบ้าน และติดสังคม จากการสำรวจพบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงรวมทั้งสิ้นประมาณ 4,100 คน ซึ่งถือเป็นจำนวนที่ค่อนข้างมาก จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่ทุกภาคส่วนในพื้นที่ต้องร่วมมือร่วมใจ ผสานทุนทางสังคม มีนโยบายและกิจกรรมในการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุให้ครอบคลุมมากที่สุด มีกิจกรรมทางสังคมที่หลากหลาย เพียงพอ เหมาะสมกับความสนใจและวัฒนธรรม เพื่อให้ผู้สูงอายุได้เลือกตามความสะดวกและความสนใจของตนเอง โครงการผู้สูงอายุ “สุขกาย สบายใจ” นั้น เป็นหนึ่งในโครงการเพื่อผู้สูงอายุที่จัดเป็นประจำมาอย่างต่อเนื่องในเขตเทศบาลเมืองเบตง จากการดำเนินกิจกรรมในปีที่ผ่านมาพบว่าผู้สูงอายุที่เข้าร่วมโครงการฯ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม จากเดิมที่เคยเป็นผู้สูงอายุติดบ้านหรือไม่เคยออกมาสู่สังคม สามารถออกมาทำกิจกรรมนอกบ้านได้มากขึ้น ลดการเกิดภาวะพึ่งพิง กระตือรือร้น มีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมต่างๆ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง ยิ้มแย้มแจ่มใส สุขภาพกายและสุขภาพจิตดี ช่วยชะลอความเสื่อมในการทำหน้าที่ของร่างกาย ออกมาเป็นผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคมมากขึ้น ซึ่งจะทำให้มีสุขภาวะที่ดีอยู่เสมอ โครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” จึงเห็นความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ทั้งทางด้านร่างกาย สังคม อารมณ์และจิตใจ ตามแนวทางความสุข 5 มิติ ซึ่งเน้นความเข้าใจธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงของความสูงวัย การดูแลสุขภาพ การมีกิจกรรมง่ายๆ ในชีวิตประจำวันที่ช่วยส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีวิถีชีวิตที่สุขกาย สบายใจ เพื่อพัฒนาผู้สูงอายุในเทศบาลเมืองเบตง ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีความสุข มีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรง มีคุณภาพชีวิตที่ดี เพราะผู้สูงอายุนั้นเต็มไปด้วยความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ในชีวิต ควรค่าแก่การเคารพยกย่อง เป็นแหล่งของภูมิปัญญาอันทรงคุณค่า เป็นร่มโพธิ์ ร่มไทรของลูกหลาน และเป็นพลังเบื้องหลังที่สำคัญของสังคม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตนตามหลักการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความส
  2. สรุปผลการดำเนินกิจกรรม
  3. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  4. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  5. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  6. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  7. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  8. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  9. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  10. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง
  11. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตนตามหลักการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 1 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 107 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียติ 80 พรรษาพิธีเปิดโดยผู้อำนวยการกองสวัสดิการ...นายนุชิต สังขืใจ...โดยมีกิจกรรมบรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"เรื่องธรรมชาติของผู้สูงวัย" และบรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม ออกกำลังกายดดยมีดนตรีประกอบลีลาศ

 

100 0

2. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 18 มีนาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 2 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 96 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียติ 80 พรรษา โดยมีกิจกรรม "บรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม เรื่องความสำคัญสุขในวัยสูงอายุ และกิจกรรมบรรยายสาธิตแบบมีส่วนร่วม เรื่องออกกำลังกายโดยดนตรีประกอบลีลาศ

 

100 0

3. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 22 เมษายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 3 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 117 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียติ 80 พรรษา โดยมีกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม เรื่องสุขสนุกกรรมวันสงกรานต์ ประจำปี 2566 และกิจกรรมแบบส่วนร่วม ออกกำลังกายโดยมีดนตรีประกอบรำวงสงกรานต์

 

100 0

4. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 20 พฤษภาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 4 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 82 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตท่าออกกำลังกายประจำวันเกิด เกมเคล็ดลับสุขภาพดี "สุขสบาย" และกิจกรรมบรรยาย สาธิตแบบมีส่วนร่วม ออกกำลังกายดดยมีดนตรีประกอบการเต้นบาสโลป

 

100 0

5. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 17 มิถุนายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 5 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 91 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสง่า" กิจกรรม"ภาพสพท้อน" และกิจกรรมบรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม "ดนตรีบำบัดจิตใจ สำหรับผู้สูงอายุ"

 

100 0

6. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 15 กรกฎาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 6 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 101 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสง่า ใจเขา ใจเรา ข้อดี ฉันมีอยู่" และกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีร่วม ออกกำลัง โดยมีดนตรีประกอบไม้พลอง

 

100 0

7. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 18 สิงหาคม 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 7 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 117 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสว่างบริหารเวลา การจัดกลุ่มภาพบริหารสมอง" และกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม "ออกกำลังกายโดยมีดนตรีประกอบ"

 

100 0

8. อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง

วันที่ 2 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ครั้งที่ 8 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 117 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสงบ ปรับความคิด พิชิตความเครียด" และกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม ออกกำลังกายดดยมีดนตรีประกอบ

 

100 0

9. รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

วันที่ 19 กันยายน 2566 เวลา 08:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ค่าเข้าเล่ม จำนวน 1 เล่ม

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ประเมินสุขภาพกายและสุขภาพจิตของผู้สูงอายุ ในเขตเทศบาลเมือง เบตงที่เข้าร่วมโครงการ“รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”ดีเพิ่มขึ้น ร้อยละ 70
0.00

 

2 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตนตามหลักการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตงที่เข้าร่วมโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” มีแผนการดูแลสุขภาพของตนเอง เพิ่มขึ้นร้อยละ 70
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 100
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความรู้ เจตคติ ทักษะและปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง (2) 2. เพื่อให้ผู้สูงอายุปฏิบัติตนตามหลักการดูแลสุขภาพได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความส (2) สรุปผลการดำเนินกิจกรรม (3) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (4) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (5) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (6) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (7) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (8) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (9) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (10) อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง (11) รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการผู้สูงอายุ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ” จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 2566-L7161-3-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายทวีป จิรรัตนโสภา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด