กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
รายงานผลการดำเนินกิจกรรมตามโครงการ19 กันยายน 2566
19
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ค่าเข้าเล่ม จำนวน 1 เล่ม

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง2 กันยายน 2566
2
กันยายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 8 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 117 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสงบ ปรับความคิด พิชิตความเครียด" และกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม ออกกำลังกายดดยมีดนตรีประกอบ

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง18 สิงหาคม 2566
18
สิงหาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 7 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 117 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสว่างบริหารเวลา การจัดกลุ่มภาพบริหารสมอง" และกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม "ออกกำลังกายโดยมีดนตรีประกอบ"

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง15 กรกฎาคม 2566
15
กรกฎาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 6 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 101 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสง่า ใจเขา ใจเรา ข้อดี ฉันมีอยู่" และกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีร่วม ออกกำลัง โดยมีดนตรีประกอบไม้พลอง

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง17 มิถุนายน 2566
17
มิถุนายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 5 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 91 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"สุขสง่า" กิจกรรม"ภาพสพท้อน" และกิจกรรมบรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม "ดนตรีบำบัดจิตใจ สำหรับผู้สูงอายุ"

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง20 พฤษภาคม 2566
20
พฤษภาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 4 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 82 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษาโดยมีกิจกรรมบรรยาย สาธิตท่าออกกำลังกายประจำวันเกิด เกมเคล็ดลับสุขภาพดี "สุขสบาย" และกิจกรรมบรรยาย สาธิตแบบมีส่วนร่วม ออกกำลังกายดดยมีดนตรีประกอบการเต้นบาสโลป

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง22 เมษายน 2566
22
เมษายน 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 3 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 117 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียติ 80 พรรษา โดยมีกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม เรื่องสุขสนุกกรรมวันสงกรานต์ ประจำปี 2566 และกิจกรรมแบบส่วนร่วม ออกกำลังกายโดยมีดนตรีประกอบรำวงสงกรานต์

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง18 มีนาคม 2566
18
มีนาคม 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 2 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 96 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียติ 80 พรรษา โดยมีกิจกรรม "บรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม เรื่องความสำคัญสุขในวัยสูงอายุ และกิจกรรมบรรยายสาธิตแบบมีส่วนร่วม เรื่องออกกำลังกายโดยดนตรีประกอบลีลาศ

อบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้ผู้สูงอายุในเขตเทศบาลเมืองเบตง19 กุมภาพันธ์ 2566
19
กุมภาพันธ์ 2566รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลเมืองเบตง
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. วิธีดำเนินการ (ออกแบบให้ละเอียด)   1.1 ขั้นวางแผน
  2. เชิญประชุมคณะกรรมการศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง
  3. ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์โครงการวางแผนงานร่วมกันระหว่างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลเมืองเบตง หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้อง เช่น กองสวัสดิการและสังคม กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม หน่วยพยาบาลปฐมภูมิ โรงพยาบาลเบตง พร้อมทั้งกำหนดแนวทางเนื้อหาการอบรม วันที่และสถานที่ดำเนินการ
  4. เสนอโครงการ “รุ่นใหญ่สุขใจ 5 มิติ”
  5. ประสานงานวิทยากรผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางที่เกี่ยวข้อง
  6. จัดเตรียมสถานที่และจัดเตรียมกลุ่มเป้าหมาย   1.2 ขั้นดำเนินการ
  7. กิจกรรมเฝ้าระวังภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
  8. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ และอบรมให้ความรู้และทักษะในการดูแล ป้องกัน และฟื้นฟูสุขภาพจากการเจ็บป่วย แก่ผู้สูงอายุทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ(สุนทรียะแห่งชีวิต) ตามยุคสมัยที่เปลี่ยนแปลง ควบคู่การสร้างบรรยากาศความสุข เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความสุขมีการเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น (เป้าหมาย ผู้สูงอายุ 100 คน)   1.3 ขั้นประเมินผลและสรุปโครงการ
  9. ประเมินผลดำเนินการ
  10. สรุปผลดำเนินการ
  11. รายงานผลดำเนินการตามขั้นตอน
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ครั้งที่ 1 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 107 ราย ดำเนินกิจกรรม ณ อาคารเฉลิมพระเกียติ 80 พรรษาพิธีเปิดโดยผู้อำนวยการกองสวัสดิการ...นายนุชิต สังขืใจ...โดยมีกิจกรรมบรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม"เรื่องธรรมชาติของผู้สูงวัย" และบรรยายสาธิตกิจกรรมแบบมีส่วนร่วม ออกกำลังกายดดยมีดนตรีประกอบลีลาศ