กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ได้รับบริการการตรวจสุขภาพช่องปากฝึกทักษะการแปรงฟันดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร และได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น 2 เพื่อลดปัญหาเด็กเล็ก (0-5 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ3.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้นำศาสนาได้รับความรู้วิธีการดูแลฟันปลอมและใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้องการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี4.เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรูัเรื่องการดูแบสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรูัถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้กวิธี 5.เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการตรวจฟันร้อยละ 90 2.หญิงตั้งครรภ์ได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็นร้อยละ 50 3.หญิงตั้งครรภ์ได้รับความรู้ทักษะการแปรงฟันที่ถูกวิธีการเช็ดทำความสะอาดช่องปากเด็กร้อยละ 90 4.ผู้ปกครองเด็กวัย 0 - 3 ปี ได้รับทันตสุขศึกษาและฝึกทำความสะอาดช่องปากแบบมือต่อมือ ร้อยละ 80 5.เด็กวัย 0 – 5 ปีได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชร้อยละ 80 6.เด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และเด็กอนุบาลได้รับการทาฟลูออไรด์วานิชร้อยละ 80 7.ผู้สูงอายุได้รับการฝึกแปรงฟันที่ถูกวิธี รอยละ65 8.แกนนำนักเรัยนได้เข้ารับการอบรมเชิงปฎิบัตการร้อยละ90
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 653 653
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 280 280
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30 30
กลุ่มวัยทำงาน 50 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 200 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 80 80
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 13 13
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อส่งเสริมให้หญิงมีครรภ์ได้รับบริการการตรวจสุขภาพช่องปากฝึกทักษะการแปรงฟันดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและบุตร และได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น 2 เพื่อลดปัญหาเด็กเล็ก (0-5 ปี) ที่มีปัญหาฟันผุ3.เพื่อให้ผู้สูงอายุและผู้นำศาสนาได้รับความรู้วิธีการดูแลฟันปลอมและใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้องการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี4.เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรูัเรื่องการดูแบสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรูัถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้กวิธี 5.เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม 1.ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงมีครรภ์รายใหม่ ฝึกทักษะการแปรงฟันโดยการย้อมสีฟัน 2.ให้บริการทันตกรรมในรายที่จำเป็น และแจกชุดของขวัญในกรณcomplet case 3.เยี่ยมบ้านหญิงมีครรภ์หลังคลอดพร้อมสอนการเช็ดเหงือกลูก (2) 1.ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 0-5 ปี ฝึกทักษะการแปรงฟันให้ลูกแบบมือต่อมือแก่ผู้ปกครอง2.จัดอบรมเชิงปฏิบัติการม่อาสา เชิงลึกสามารถปฏิบัติจริง (3) 3 จัดอบรมเชิงปฏิบัติการนักเรียน (4) ตรวจสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ฝึกทักษะการแปรงฟันแท้ที่ถูกวิธี ให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพ วิธีดูแลฟันปลอมและใช้ฟันปลอมได้อย่างถูกต้อง (5) ออกตรวจสุขภาพช่องปากผู้ป่วยติดเตียง และทำความสะอาดช่องปาก พร้อมทั้งให้ความรู้เรื่องทันตสุขภาพและการกินอาหารสำหรับผู้ป่วยติดเตียงให้กับผู้ดูแล ชื่อกิจกรรม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh