กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 1. เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย ได้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพและการใช้ชุดทดสอบหาสารปนเปื้อนได้อย่างถูกต้องปลอดภัย
ตัวชี้วัด : 1. กลุ่มนักเรียน อย.น้อย มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องอาหารปลอดภัย ผลิตภัณฑ์สุขภาพและการใช้ชุดทดสอบหาสารปนเปื้อนได้อย่างถูกต้องปลอดภัย ร้อยละ 80
100.00
  • ผลการประเมินของนักเรียนแกนนำ อย.น้อย เมื่อได้รับการทดสอบก่อนการอบรม โครงการ อย.น้อย สุขภาพดีเริ่มที่โรงเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ทำแบบทดสอบก่อนการอบรม ได้คะแนนต่ำกว่าร้อยละ 80 จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 80
  • ผลการประเมินของนักเรียนแกนนำ อย.น้อย เมื่อได้รับการทดสอบหลังการอบรม โครงการ อย.น้อย สุขภาพดีเริ่มที่โรงเรียน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 20 คน ทำแบบทดสอบหลังการอบรม ได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 80 จำนวน 20 คน ซึ่งถือว่ามีความรู้ความเข้าใจเรื่องอาหารปลอดภัย คิดเป็นร้อยละ 100
  • นักเรียนแกนนำ อย.น้อย จำนวน 20 คน สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหารได้อย่างถูกต้องทั้ง 20 คน ร้อยละ 100
  • นักเรียนแกนนำ อย.น้อย ติดตามและประเมินผลร้านค้า อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง

 

 

2 2. เพื่อให้กลุ่มนักเรียน อย.น้อย สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : 2. กลุ่มนักเรียน อย.น้อย สามารถใช้ชุดทดสอบสารปนเปื้อนในอาหาร ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 100
100.00